ชิลลา
อาณาจักรชิลลา (เกาหลีเก่า: 徐羅伐, เยล: Syerapel,[8] อาร์อาร์: Seorabeol; เสียงอ่านภาษาเกาหลี: /sʌɾabʌɭ/) เป็นหนึ่งในอาณาจักรยุคสามราชอาณาจักรเกาหลีสถาปนาโดยพระเจ้าฮย็อกกอเซ เมื่อ 57 ปีก่อนคริสตกาล (พ.ศ. 486) ซึ่งอาณาจักรชิลลาเกิดจากการรวมตัวกันของอาณาจักรจินฮันกับชนเผ่าต่าง ๆ ทำให้อาณาจักรเติบโตขึ้นแล้วเปลี่ยนชื่อเป็นอาณาจักรชิลลา อาณาจักรชิลลาต้องทำสงครามกับอีก 3 อาณาจักรใหญ่คืออาณาจักรโคกูรยอ อาณาจักรแพ็กเจ และอาณาจักรคายา อยู่นานกว่า 500—600 ปีก่อนที่พระเจ้ามุนมูกษัตริย์องค์ที่ 30 แห่งอาณาจักรชิลลาซึ่งครองราชย์ระหว่าง ค.ศ. 661—681 จะสามารถรวบรวมแผ่นดินได้สำเร็จด้วยการกลืนโคกูรยอและแพ็กเจเข้าเป็นส่วนหนึ่งของชิลลาก่อนที่จะถูกโค่นอำนาจลงใน ค.ศ. 935[9]
ชิลลา | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
57 ปีก่อน ค.ศ. – ค.ศ. 935 | |||||||||||||
ชิลลาในคริสต์ศตวรรษ 6 ในรัชสมัยพระเจ้าจินฮึง | |||||||||||||
สถานะ | ราชอาณาจักร | ||||||||||||
เมืองหลวง | ซอราพ็อล[a][b] | ||||||||||||
ภาษาทั่วไป | ภาษาเกาหลีเก่า, ภาษาจีนคลาสสิก, (วรรณกรรม)[1] | ||||||||||||
กลุ่มชาติพันธุ์ | เยแม็ก,[2] ซัมฮัน | ||||||||||||
ศาสนา |
| ||||||||||||
การปกครอง | ราชาธิปไตย | ||||||||||||
พระมหากษัตริย์ | |||||||||||||
• 57 ปีก่อน ค.ศ.–ค.ศ. 4 | ฮย็อกกอเซ (องค์แรก) | ||||||||||||
• 57–80 | ทัลแฮ | ||||||||||||
• 356–402 | แนมุล | ||||||||||||
• 540–576 | จินฮึง | ||||||||||||
• 654–661 | มูยอล | ||||||||||||
• 661–681 | มุนมู | ||||||||||||
• 927–935 | คยองซุน (องค์สุดท้าย) | ||||||||||||
สภานิติบัญญัติ | ฮวาแพ็ก | ||||||||||||
ประวัติศาสตร์ | |||||||||||||
• สถาปนาอาณาจักร | 57 ปีก่อน ค.ศ. | ||||||||||||
• การรับศาสนาพุทธ | 530 | ||||||||||||
• การทัพของพระเจ้าจินฮึง | 551–585 | ||||||||||||
668–676 | |||||||||||||
668–935 | |||||||||||||
• ผนวกเข้ากับโครยอ | ค.ศ. 935 | ||||||||||||
ประชากร | |||||||||||||
• 200 | 250,000[6] | ||||||||||||
• 660 | 1,000,000[6] | ||||||||||||
• 676 | 4,500,000[7] | ||||||||||||
| |||||||||||||
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ | เกาหลีเหนือ เกาหลีใต้ |
ชิลลา | |
ฮันกึล | 신라 |
---|---|
ฮันจา | 新羅 |
อาร์อาร์ | Silla |
เอ็มอาร์ | Silla |
IPA | [ɕiɭ.ɭa] |
ซอราพ็อล | |
ฮันกึล | 서라벌 |
ฮันจา | 徐羅伐 |
อาร์อาร์ | Seorabeol |
เอ็มอาร์ | Sŏrabŏl |
IPA | [sʌɾabʌɭ] |
หมายเหตุ
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ Lee 1984, pp. 83–84.
- ↑ 이기동, 1988, 「신라의 성립과 변천」, 『韓國古代史論』, 한길사.
- ↑ Lee Injae, Owen Miller, Park Jinhoon, Yi Hyun-Hae, 2014, Korean History in Maps, Cambridge University Press, pp. 44–49, 52–60.
- ↑ Lee (1991) reviews the writings of more than 15 Arabic geographers on Silla, which most refer to as al-sila or al-shila.
- ↑ Lee (1991, p. 26) cites the 10th-century chronicler Mas'udi.
- ↑ 6.0 6.1 김호상 (August 1, 2016). "신라시대, 인구조사는 어떻게 하였을까?." 경북신문 (ภาษาเกาหลี).
신라의 인구수를 살펴보면, 중국측 기록에 나타나는 3세기 중엽경 진한과 변한의 인구는 25만 명 정도로 추정된다. 신라의 인구수는 '삼국사기'를 보면 668년에 고구려를 정벌하는데 20만 명의 병력을 동원한 사실이 나타난다. 이 20만 명은 군역의 의무를 지닌 정남이 차지하는 비율이 '신라촌락문서'에는 21%에 해당하고 있다. 이를 감안한다면 5배를 곱한 숫자 100만이 인구였음을 추정해 볼 수 있다.
- ↑ 김시종 (September 13, 2011). "<기고>다윗(Davia)과 골리앗(Goliath)". 대구신문 (ภาษาเกาหลี).
- ↑ Man'yōshū (Book 15): A New Translation Containing the Original Text, Kana Transliteration, Romanization, Glossing and Commentary. Global Oriental. August 2009. ISBN 978-900421299-2.
- ↑ "사단법인 신라문화진흥원 – 신라의 역사와 문화". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-03-21. สืบค้นเมื่อ 2008-03-08. Retrieved on 2008-03-08
ข้อมูล
แก้- Connor, Mary E. (2009). The Koreas. ABC-CLIO, LLC.
- Keown, Damien; Prebish, Charles S., บ.ก. (2010). Encyclopedia of Buddhism. New York: Routledge. ISBN 978-0-203-49875-0.
- Lee, Ki-baik (1984), A New History of Korea, แปลโดย Wagner, Edward W.; Schultz, Edward J., Harvard University Press, ISBN 9780674615762
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ ชิลลา