ชาวอังกฤษอเมริกัน

ชาวอังกฤษอเมริกัน หรือ ชาวแองโกลอเมริกัน (อังกฤษ: English Americans หรือ Anglo-Americans) คือประชาชนชาวอเมริกันที่มาจากอังกฤษหรือสืบเชื้อสายมาจากบรรพบุรุษที่เป็นชาวอังกฤษ จากการสำรวจสำมะโนประชากรในปี ค.ศ. 2000 ประชากรอเมริกันที่ระบุว่ามีบรรพบุรุษที่เป็นชาวอังกฤษมีจำนวนประมาณ 9.4% ของประชากรทั้งหมดของสหรัฐ[6] และเมื่อเปรียบเทียบจำนวนของกลุ่มชาติพันธุ์แล้วก็มีมากเป็นที่สามในบรรดาผู้สืบเชื้อสายจากชาวยุโรปรองจากชาวเยอรมันอเมริกัน และ ชาวไอริชอเมริกัน แต่จำนวนดังกล่าวเชื่อกันว่าเป็นจำนวนที่น้อยกว่าความเป็นจริงเพราะชาวอังกฤษในสหรัฐมักจะเรียกตนเองง่ายๆ ว่า "อเมริกัน"[7][8][9] หรือถ้าสืบเชื้อสายมาจากบรรพบุรุษที่มาจากหลายประเทศในยุโรปก็มักจะระบุกลุ่มชาติพันธุ์ล่าสุด[10] ซึ่งจากการสำรวจสัมโนประชากรในปี ค.ศ. 1980 ชาวอเมริกันกว่า 49 คนอ้างว่าสืบเชื้อสายมาจากชาวอังกฤษ ซึ่งเป็นจำนวนราว 22% ของประชากรทั้งหมดในขณะนั้น ซึ่งทำให้เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีจำนวนมากที่สุดในสหรัฐ

ชาวอังกฤษอเมริกัน
ชาวอังกฤษอเมริกันและชาวแคนาดาเชื้อสายอังกฤษต่อประชากรตามรัฐและดินแดน
ประชากรทั้งหมด
23,593,434 (2019)[1] (2019)
มากกว่า 50,000,000 แม่แบบ:Unchanged (1980)[2][3]
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
ทั่วสหรัฐ โดยเฉพาะบริเวณสหรัฐตอนกลางฝั่งตะวันออก, ในและรอบ ๆ แอปพาเลเชีย, นิวอิงแลนด์ตอนบน และมอรมอนตะวันตก
รัฐแคลิฟอร์เนีย4,946,554[4]
รัฐเท็กซัส3,083,323[4]
รัฐโอไฮโอ2,371,236[4]
รัฐนิวยอร์ก2,320,503[4]
รัฐฟลอริดา2,232,514[4]
รัฐมิชิแกน2,036,021[4]
รัฐอิลลินอย1,808,333[4]
รัฐนอร์ทแคโรไลนา1,778,008[4]
รัฐจอร์เจีย1,584,303[4]
รัฐเทนเนสซี1,435,147[4]
รัฐเพนซิลเวเนีย1,058,737[5]
ภาษา
อังกฤษ
ศาสนา
กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง
ชาวอังกฤษพลัดถิ่นอื่น ๆ, บรรพบุรุษอเมริกัน, Old Stock Americans ชาวอเมริกันเชื้อสายอังกฤษอื่น ๆ

ชาวอังกฤษที่อพยพไปตั้งถิ่นฐานในสหรัฐอเมริกาเป็นครั้งแรกไปตั้งถิ่นฐานอยู่ที่เวอร์จิเนียที่ก่อตั้งโดยทิวดอร์ และต่อมาที่พลิมัธในแมสซาชูเซตส์ จังหวัดโรมันคาทอลิกแมริแลนด์ก่อตั้งโดยสจวต

บิดาแห่งสหรัฐอเมริกาส่วนใหญ่สืบเชื้อสายมาจากชาวอังกฤษที่รวมทั้งจอร์จ วอชิงตัน เบนจามิน แฟรงคลิน, จอห์น แอดัมส์ และ ทอมัส เจฟเฟอร์สัน

อ้างอิง แก้

  1. "U.S. Census Bureau, 2019 American Community Survey 1-Year Estimates". data.census.gov. สืบค้นเมื่อ February 25, 2021.
  2. "1980 United States census" (PDF). census.gov. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 23 December 2019. สืบค้นเมื่อ April 3, 2020.
  3. In the 1980 census, 49,598,035 Americans identified as being of English ancestry, although in later censuses most of these same people identified as being of "American" ancestry, when that was added as an option.
  4. 4.00 4.01 4.02 4.03 4.04 4.05 4.06 4.07 4.08 4.09 "Rank of States for Selected Ancestry Groups with 100,000 or More Persons: 1980" (PDF). Census.gov. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 29 July 2019. สืบค้นเมื่อ 21 August 2017.
  5. Bureau, U.S. Census. "American FactFinder - Results". factfinder.census.gov. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 February 2012. สืบค้นเมื่อ 21 August 2017.
  6. Census 2006 ACS Ancestry estimates[ลิงก์เสีย]
  7. Reynolds Farley, 'The New Census Question about Ancestry: What Did It Tell Us?', Demography, Vol. 28, No. 3 (August 1991), pp. 414, 421.
  8. Stanley Lieberson and Lawrence Santi, 'The Use of Nativity Data to Estimate Ethnic Characteristics and Patterns', Social Science Research, Vol. 14, No. 1 (1985), pp. 44-6.
  9. Stanley Lieberson and Mary C. Waters, 'Ethnic Groups in Flux: The Changing Ethnic Responses of American Whites', Annals of the American Academy of Political and Social Science, Vol. 487, No. 79 (September 1986), pp. 82-86.
  10. Mary C. Waters, Ethnic Options: Choosing Identities in America (Berkeley: University of California Press, 1990), p. 36.

อ่านเพิ่ม แก้

  • Berthoff, Rowland. British Immigrants in Industrial America, 1790-1950 (1953).
  • Bridenbaugh, Carl. Vexed and Troubled Englishmen, 1590-1642 (1976).
  • Erickson, Charlotte. Invisible Immigrants: The Adaptation of English and Scottish Immigrants in Nineteenth-Century America (1972_.
  • Furer, Howard B., ed. ;;The British in America: 1578-1970 (1972).
  • Hanft, Sheldon. "English Americans." in Gale Encyclopedia of Multicultural America, edited by Thomas Riggs, (3rd ed., vol. 2, Gale, 2014), pp. 73-86. Online
  • Tennenhouse, Leonard. The Importance of Feeling English: American Literature and the British Diaspora, 1750-1850 (2007{.
  • Van Vugt, William E. "British (English, Scottish, Scots Irish, and Welsh) and British Americans, 1870–1940’." in Elliott Barkan, ed., Immigrants in American History: Arrival, Adaptation, and Integration (2013): 4:237+.
  • Van Vugt, William E. British Buckeyes: The English, Scots, and Welsh in Ohio, 1700-1900 (2006).