ความสัมพันธ์ไทย–นิวซีแลนด์
ความสัมพันธ์ไทย–นิวซีแลนด์ หมายถึงความสัมพันธ์ทวิภาคีระหว่างประเทศนิวซีแลนด์กับประเทศไทย โดยนิวซีแลนด์มีสถานเอกอัครราชทูตในกรุงเทพมหานคร ในขณะที่ประเทศไทยมีสถานเอกอัครราชทูตในเวลลิงตัน ทั้งสองประเทศเป็นสมาชิกของความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก
นิวซีแลนด์ |
ไทย |
การเปรียบเทียบ
แก้นิวซีแลนด์ | ราชอาณาจักรไทย | |
---|---|---|
ตราแผ่นดิน | ||
ธงชาติ | ||
ประชากร | 4,975,160 คน | 68,863,514 คน |
พื้นที่ | 268,021 ตร.กม. (103,483 ตร.ไมล์) | 513,120 ตร.กม. (198,120 ตร.ไมล์) |
ความหนาแน่น | 18.2 คน/ตร.กม. (47.1 คน/ตร.ไมล์) | 132.1 คน/ตร.กม. (342.1 คน/ตร.ไมล์) |
เมืองหลวง | เวลลิงตัน | กรุงเทพมหานคร |
เมืองที่ใหญ่ที่สุด | ออกแลนด์ – 1,628,900 คน (เขตปริมณฑล 1,695,900 คน) | กรุงเทพมหานคร – 8,305,218 คน (เขตปริมณฑล 10,624,700 คน) |
การปกครอง | ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา และราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ | ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข |
ประมุขแห่งรัฐ | พระมหากษัตริย์: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (ผู้สำเร็จราชการ: แพตซี เรดดี) | พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว |
หัวหน้ารัฐบาล | นายกรัฐมนตรี: จาซินดา อาร์เดิร์น | นายกรัฐมนตรี: ประยุทธ์ จันทร์โอชา |
ภาษาราชการ |
|
ภาษาไทย |
ศาสนาหลัก |
|
|
กลุ่มชาติพันธุ์ |
|
|
จีดีพี (ราคาตลาด) | 206 พันล้าน (ต่อหัว 40,266 ดอลลาร์) | 516 พันล้าน (ต่อหัว 7,607 ดอลลาร์) |
ค่าใช้จ่ายทางทหาร | 3.19 พันล้านดอลลาร์ | 5.69 พันล้านดอลลาร์ |
ประวัติ
แก้ทั้งสองประเทศสร้างความสัมพันธ์ทางการทูตในปี พ.ศ. 2499[1]
ทั้งสองประเทศฉลองครบรอบ 60 ปีความสัมพันธ์ทางการทูตในปี พ.ศ. 2559 มีคนไทย 10,000 คนที่อาศัยอยู่ในนิวซีแลนด์ และตำรวจไทยได้ทำงานอย่างใกล้ชิดกับตำรวจนิวซีแลนด์มานานกว่า 30 ปี[2][3]
นอกจากนี้ ประเทศนิวซีแลนด์ได้ยกระดับความสัมพันธ์กับรัฐบาลทหารไทยในปี พ.ศ. 2559[4]
อ้างอิง
แก้- ↑ "Thai embassy" (PDF).
- ↑ "Thailand". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-01-25.
- ↑ "The reception to celebrate the 60th anniversary of diplomatic relations between Thailand and New Zealand". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-08-01.
- ↑ "NZ upgrades ties with the Thai military government". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-10-11.