ในส่วนนี้จะกล่าวถึงการหาขอบเขตเชอร์นอฟในกรณีที่ที่ตัวแปรสุ่มอันเป็นผลบวกของการทดลองแบบปัวซงซึ่งเป็นอิสระแก่กัน กรณีพิเศษของขอบเขตเชอร์นอฟแบบนี้ถูกใช้อย่างแพร่หลายในการวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีแบบสุ่ม โดยเฉพาะในการพิสูจน์ว่าขั้นตอนวิธีแบบสุ่มหนึ่งๆ จะทำงานได้ดีด้วยความน่าจะเป็นสูง สาเหตุที่ขอบเขตเชอร์นอฟเป็นเทคนิคที่เหมาะสมต่อการวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีแบบสุ่มนั้น อาจเพราะว่า โดยทั่วไปเราสามารถมองขั้นตอนวิธีแบบสุ่มว่า เป็นขั้นตอนวิธีที่ใช้การโยนเหรียญที่เป็นอิสระต่อกันหลาย ๆ ครั้งในการตัดสินใจ
ขอบเขตของเชอร์นอฟในกรณีนี้นั้นไม่สมมาตร ดังนั้นในการใช้งานจะมีขอบเขตทั้งของ ส่วนปลายด้านบน ซึ่งจะใช้สำหรับกรณีที่ต้องการหาขอบเขตบนในกรณีที่ตัวแปรสุ่มมีค่ามากกว่าค่าคาดหมาย และ ส่วนปลายด้านล่าง ในกรณีที่พิจารณาเหตุการณ์ที่ตัวแปรสุ่มมีค่าน้อยกว่าค่าคาดหมาย
ให้ เป็นจำนวนเต็มบวก และ สำหรับจำนวน เป็นการทดลองแบบปัวซงที่เป็นอิสระแก่กันโดยที่ และ กำหนด และให้ และ เป็นจำนวนจริงใดๆ ที่มีค่ามากกว่า 0 แล้ว:
1. (ส่วนปลายด้านบน)
-
2. (ส่วนปลายด้านล่าง) เมื่อ
-
เราเริ่มจากการพิสูจน์ส่วนปลายด้านบน จากรูปทั่วไป
-
พิจารณา เราได้ว่า เนื่องจากตัวแปรสุ่ม , , , เป็นอิสระแก่กัน เราได้ว่า
-
เพราะว่า สำหรับจำนวนจริงบวก ทุกจำนวน เราได้ว่า
-
เนื่องจาก ดังนั้น
-
กำหนดฟังก์ชัน เราได้ว่า และ
สมมติให้ เราได้ว่า และ เพราะฉะนั้น จึงมีค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ที่ เราจึงได้ว่า
-
ตามต้องการ
สำหรับส่วนปลายด้านล่างนั้น เราเริ่มจากสังเกตว่า ก็ต่อเมื่อ เมื่อใช้รูปทั่วไปของขอบเขตเชอร์นอฟ ได้ว่า
-
เมื่อใช้การให้เหตุผลแบบเดียวกับการพิสูจน์ส่วนปลายด้านบน เราได้ว่า
-
ค่าต่ำสุดของฟังก์ชันทางด้านขวามือของอสมการอยู่ที่ ฉะนั้น
-
ตามต้องการ
รูปแบบทั้งสองข้างต้นเป็นรูปแบบที่ให้ขอบเขตที่แน่นที่สุดของขอบเขตเชอร์นอฟ อย่างไรก็ตาม รูปแบบทั้งสามแบบด้านล่างที่อาจมีเงื่อนไขเพิ่มเติม มักนำไปใช้ได้สะดวกกว่า
1. (ส่วนปลายด้านบน) ถ้า
-
และ สำหรับ
-
2. (ส่วนปลายด้านล่าง) ถ้า
-