กุ้งยิง หรือ ตากุ้งยิง (อังกฤษ: hordeolum หรือ stye) เป็นการติดเชื้อของต่อมน้ำมันในเปลือกตา[4] ส่งผลให้เกิดรอยนูนนุ่มสีแดงที่ขอบของเปลือกตา[1][5] หนังตาทั้งด้านนอกและด้านในล้วนมีโอกาสพบอาการนี้[3]

กุ้งยิง
ชื่ออื่นSty, hordeolum[1]
กุ้งยิงด้านนอกที่เปลือกตาบน
การออกเสียง
สาขาวิชาจักษุวิทยา, ทัศนมาตรศาสตร์
อาการรอยนูนนุ่มสีแดงที่ของของเปลือกตา[1]
การตั้งต้นทุกวัน[2]
ระยะดำเนินโรคสองสามวันถึงสัปดาห์[3]
สาเหตุโดยทั่วไปจาก การติดเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus aureus[3]
โรคอื่นที่คล้ายกันปรวดหนังตา[4]
การรักษาประคบอุ่น, ยาหยอดตาปฏิชีวนะ[5][6]

โดยส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus aureus[3][6] กุ้งยิงชนิดด้านในเปลือกตาเกิดจากการอักเสบจากการติดเชื้อที่ต่อมไมโบเมียน ส่วนชนิดด้านนอกเปลือกตาเกิดจากการอักเสบของต่อมซีส[5] ในขณะที่อาการคล้ายคลึงกัน ปรวดหนังตา (chalazion) เกิดจากต่อมไขมันอุดตันโดยปราศจากการติดเชื้อ[4] A ส่วนใหญ่แล้วเกิดขึ้นตอนกลางของเปลือกตาและไม่มีอาการเจ็บ[5]

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 1.2 "Hordeolum (Stye)". PubMed Health. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 September 2017. สืบค้นเมื่อ 14 October 2016.
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Fer2016
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 Lindsley K, Nichols JJ, Dickersin K (2017). "Non-surgical interventions for acute internal hordeolum". Cochrane Database Syst Rev. 1: CD007742. doi:10.1002/14651858.CD007742.pub4. PMC 5370090. PMID 28068454.
  4. 4.0 4.1 4.2 "Eyelid Disorders Chalazion & Stye". NEI. 4 May 2010. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 October 2016. สืบค้นเมื่อ 14 October 2016.
  5. 5.0 5.1 5.2 5.3 Carlisle, RT; Digiovanni, J (15 July 2015). "Differential Diagnosis of the Swollen Red Eyelid". American Family Physician. 92 (2): 106–12. PMID 26176369.
  6. 6.0 6.1 Deibel, JP; Cowling, K (May 2013). "Ocular inflammation and infection". Emergency Medicine Clinics of North America. 31 (2): 387–97. doi:10.1016/j.emc.2013.01.006. PMID 23601478.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้

การจำแนกโรค
ทรัพยากรภายนอก