กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 – ทีมชาย

การแข่งขันกีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 – ทีมชาย เป็น 1 ใน 2 รายการแข่งขันฟุตบอลที่โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น จะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 21 กรกฎาคม - 7 สิงหาคม ค.ศ. 2021 ครั้งนี้จัดการแข่งขันกีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกเป็นครั้งที่ 24 ในโอลิมปิกฤดูร้อน จัดขึ้น ณ สนามกีฬาใน 6 เมือง

กีฬาฟุตบอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพญี่ปุ่น
วันที่22 กรกฎาคม – 7 สิงหาคม 2021
ทีม16 (จาก 6 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 6 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศ บราซิล (สมัยที่ 2)
รองชนะเลิศ สเปน
อันดับที่ 3 เม็กซิโก
อันดับที่ 4 ญี่ปุ่น
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน31
จำนวนประตู90 (2.9 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม14,291 (461 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดบราซิล รีชาร์ลีซง
(5 ประตู)
2016
2024
ปรับปรุงสถิติทั้งหมด ณ วันที่ 6 สิงหาคม ค.ศ. 2021

ปฏิทินการแข่งขัน

แก้

เวลาทั้งหมดเป็นเวลามาตรฐานญี่ปุ่น (UTC+9)[1]

สัญลักษณ์
22 พฤ. 23 ศ. 24 ส. 25 อา. 26 จ. 27 อ. 28 พ. 29 พฤ. 30 ศ. 31 ส. 1 อา. 2 จ. 3 อ. 4 พ. 5 พฤ. 6 ศ. 7 ส.
G G G ¼ ½ B F

การคัดเลือก

แก้
การคัดเลือก อ้างอิง วันที่1 สถานที่1 จำนวนทีม ทีมที่เข้ารอบ
เจ้าภาพ 7 กันยายน 2013   อาร์เจนตินา 1   ญี่ปุ่น
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี 2019 [2] 16–30 มิถุนายน 2019   อิตาลี
  ซานมารีโน
4   ฝรั่งเศส
  เยอรมนี
  โรมาเนีย
  สเปน
ฟุตบอลชายโอลิมปิกรอบคัดเลือก โอเอฟซี 2019 [3] 21 กันยายน – 5 ตุลาคม 2019   ฟีจี 1   นิวซีแลนด์
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติแอฟริกา รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2019 [4] 8–22 พฤศจิกายน 2019   อียิปต์ 3   อียิปต์
  โกตดิวัวร์
  แอฟริกาใต้
ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2020 [5] 8–26 มกราคม 2020   ไทย 3   เกาหลีใต้
  ซาอุดีอาระเบีย
  ออสเตรเลีย
ฟุตบอลปรีโอลิมปิกคอนเมบอล 2020 [6] 18 มกราคม – 9 กุมภาพันธ์ 2020   โคลอมเบีย 2   อาร์เจนตินา
  บราซิล
ฟุตบอลชายโอลิมปิกรอบคัดเลือก 2020 โซนคอนคาแคฟ [7] 20 มีนาคม – 1 เมษายน 2020   เม็กซิโก 2   ฮอนดูรัส
  เม็กซิโก
รวม   16
  • ^1 วันที่และประเทศที่จัดการแข่งขันในการแข่งขันรอบสุดท้าย ส่วนในการแข่งขันรอบแรกอาจแข่งขันในสถานที่ที่แตกต่างกัน

สนามแข่งขัน

แก้

การแข่งขันจัดขึ้นในหกสนาม ในหกเมืองเจ้าภาพ ดังนี้

รายชื่อ

แก้

การแข่งขันฟุตบอลทีมชายเป็นทัวร์นาเมนต์ระดับนานาชาติที่มีข้อจำกัดด้านอายุ ผู้เล่นจะต้องเกิดในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1997 โดยอนุญาตให้ผู้เล่นอายุเกินสามคนสำหรับแต่ละทีม แต่ละทีมต้องส่งทีมผู้เล่น 18 คน โดยสองคนต้องเป็นผู้รักษาประตู แต่ละทีมยังสามารถระบุรายชื่อผู้เล่นสำรองสี่ราย ซึ่งสามารถแทนที่ผู้เล่นคนใดก็ได้ในทีมในกรณีที่ได้รับบาดเจ็บระหว่างการแข่งขัน[8]

ผู้ตัดสิน

แก้

การจับสลาก

แก้

การจับสลากของการแข่งขันจัดขึ้นในวันที่ 21 เมษายน ค.ศ. 2021 เวลา 10:00 (เวลาท้องถิ่น CEST UTC+2), ณ สำนักงานใหญ่ฟีฟ่า ในซูริค ประเทศสวิตเซอร์แลนด์[9] ดำเนินการโดย ซาไร บาเรแมน หัวหน้าเจ้าหน้าที่ฟุตบอลหญิงของฟีฟ่า และ ไฆเม ยาร์ซา ผู้อำนวยการการแข่งขันของฟีฟ่า

ทีมที่ผ่านรอบคัดเลือก 15 ทีมและเจ้าภาพญี่ปุ่น จะถูกแบ่งออกเป็นสี่โถ ซึ่งเจ้าภาพญี่ปุ่นจะถูกจัดวางในโถ 1 โดยอัตโนมัติและมอบหมายให้อยู่ในตำแหน่ง A1 ในขณะที่ทีมที่เหลือถูกวางลงในโถตามลำดับโดยอิงจากผลการแข่งขันในห้าการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกที่ผ่านมา (ในปีล่าสุดจะได้รับคะแนนในการพิจารณามากกว่า) พร้อมคะแนนโบนัสที่มอบให้กับแชมป์ของสมาพันธ์นั้น ๆ ในหนึ่งกลุ่มจะไม่มีกลุ่มใดที่มีมากกว่าหนึ่งทีมจากแต่ละสมาพันธ์[10] เจ้าภาพอย่างญี่ปุ่นถูกวางในโถ 1 และอยู่ในตำแหน่ง A1 โดยอัตโนมัติ ในขณะที่ทีมอื่น ๆ จะเรียงตามผลงานในโอลิมปิกห้าครั้งหลังสุด (ถ้าเข้าร่วมมากก็จะได้คะแนนมาก) โดยคะแนนพิเศษจะถูกเพิ่มให้กับทีมแชมป์ของแต่ละสมาพันธ์ ในแต่ละกลุ่มต้องไม่มีทีมที่มาจากสมาพันธ์เดียวกันมากกว่าหนึ่งทีม[11]

โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 4

รอบแบ่งกลุ่ม

แก้

เวลาทั้งหมดเป็นเวลามาตรฐานญี่ปุ่น (UTC+9).[12]

กลุ่ม เอ

แก้
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   ญี่ปุ่น (H) 3 3 0 0 7 1 +6 9 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2   เม็กซิโก 3 2 0 1 8 3 +5 6
3   ฝรั่งเศส 3 1 0 2 5 11 −6 3
4   แอฟริกาใต้ 3 0 0 3 3 8 −5 0
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
(H) เจ้าภาพ.




กลุ่ม บี

แก้
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   เกาหลีใต้ 3 2 0 1 10 1 +9 6 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2   นิวซีแลนด์ 3 1 1 1 3 3 0 4
3   โรมาเนีย 3 1 1 1 1 4 −3 4
4   ฮอนดูรัส 3 1 0 2 3 9 −6 3
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า


ฮอนดูรัส  0–1  โรมาเนีย
รายงาน (โตเกียว 2020)
รายงาน (ฟีฟ่า)
Oliva   45+1' (o.g.)
ผู้ชม: 0 คน
ผู้ตัดสิน: Leodán González (อุรุกวัย)


กลุ่ม ซี

แก้
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   สเปน 3 1 2 0 2 1 +1 5 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2   อียิปต์ 3 1 1 1 2 1 +1 4
3   อาร์เจนตินา 3 1 1 1 2 3 −1 4
4   ออสเตรเลีย 3 1 0 2 2 3 −1 3
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า




กลุ่ม ดี

แก้
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   บราซิล 3 2 1 0 7 3 +4 7 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2   โกตดิวัวร์ 3 1 2 0 3 2 +1 5
3   เยอรมนี 3 1 1 1 6 7 −1 4
4   ซาอุดีอาระเบีย 3 0 0 3 4 8 −4 0
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า




รอบแพ้คัดออก

แก้

การแข่งขันในรอบแพ้คัดออกจะแข่งขันกันในเวลาปกติ 90 นาที หากเสมอกันจะต้องต่อเวลาพิเศษ 30 นาที โดยแบ่งเป็นครึ่งละ 15 นาที หากยังเสมอกันต้องดวลลูกโทษ เพื่อหาผู้ชนะ[8]

สายการแข่งขัน

แก้
 
รอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศรอบชิงเหรียญทอง
 
          
 
31 กรกฎาคม – โยโกฮามะ
 
 
  เกาหลีใต้3
 
3 สิงหาคม – คาชิมะ
 
  เม็กซิโก6
 
  เม็กซิโก0 (1)
 
31 กรกฎาคม – ไซตามะ
 
  บราซิล
(ลูกโทษ)
0 (4)
 
  บราซิล1
 
7 สิงหาคม – โยโกฮามะ
 
  อียิปต์0
 
  บราซิล
(ต่อเวลา)
2
 
31 กรกฎาคม – คาชิมะ
 
  สเปน1
 
  ญี่ปุ่น
(ลูกโทษ)
0 (4)
 
3 สิงหาคม – ไซตามะ
 
  นิวซีแลนด์0 (2)
 
  ญี่ปุ่น0
 
31 กรกฎาคม – ริฟุ
 
  สเปน
(ต่อเวลา)
1 รอบชิงเหรียญทองแดง
 
  สเปน
(ต่อเวลา)
5
 
6 สิงหาคม – ไซตามะ
 
  โกตดิวัวร์2
 
  เม็กซิโก3
 
 
  ญี่ปุ่น1
 

รอบแพ้คัดออก

แก้
สเปน  5–2 (ต่อเวลาพิเศษ)  โกตดิวัวร์
Report (TOCOG)
Report (FIFA)
ผู้ชม: 5,526[13]
ผู้ตัดสิน: Jesús Valenzuela (เวเนซุเอลา)



รอบรองชนะเลิศ

แก้

ญี่ปุ่น  0–1 (ต่อเวลาพิเศษ)  สเปน
Report (TOCOG)
Report (FIFA)
Asensio   115'

รอบชิงเหรียญทองแดง

แก้

รอบชิงเหรียญทอง

แก้

สถิติ

แก้

ผู้ทำประตูสูงสุด

แก้

มีการทำประตู 93 ประตู จากการแข่งขัน 32 นัด เฉลี่ย 2.91 ประตูต่อนัด


การทำประตู 5 ครั้ง

การทำประตู 4 ครั้ง

การทำประตู 3 ครั้ง

การทำประตู 2 ครั้ง

การทำประตู 1 ครั้ง

การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง

แหล่งที่มา : ฟีฟ่า

อันดับ

แก้

นัดที่มีผลแพ้ชนะในช่วงต่อเวลาพิเศษ จะถูกนับว่าเป็นชนะหรือแพ้ ในขณะที่นัดที่ตัดสินด้วยการยิงลูกโทษ จะถูกนับว่าเป็นการเสมอ

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน ผลงาน
1   บราซิล 6 4 2 0 10 4 +6 14 เหรียญทอง
2   สเปน 6 3 2 1 9 5 +4 11 เหรียญเงิน
3   เม็กซิโก 6 4 1 1 17 7 +10 13 เหรียญทองแดง
4   ญี่ปุ่น (H) 6 3 1 2 8 5 +3 10 อันดับที่สี่
5   เกาหลีใต้ 4 2 0 2 13 7 +6 6 ตกรอบก่อนรองชนะเลิศ
6   นิวซีแลนด์ 4 1 2 1 3 3 0 5
7   โกตดิวัวร์ 4 1 2 1 5 7 −2 5
8   อียิปต์ 4 1 1 2 2 2 0 4
9   เยอรมนี 3 1 1 1 6 7 −1 4 ตกรอบแบ่งกลุ่ม
10   อาร์เจนตินา 3 1 1 1 2 3 −1 4
11   โรมาเนีย 3 1 1 1 1 4 −3 4
12   ออสเตรเลีย 3 1 0 2 2 3 −1 3
13   ฝรั่งเศส 3 1 0 2 5 11 −6 3
14   ฮอนดูรัส 3 1 0 2 3 9 −6 3
15   ซาอุดีอาระเบีย 3 0 0 3 4 8 −4 0
16   แอฟริกาใต้ 3 0 0 3 3 8 −5 0
แหล่งที่มา : โตเกียว 2020
(H) เจ้าภาพ.

อ้างอิง

แก้
  1. "Match schedule for Tokyo 2020".
  2. "Under-21 EURO 2019: all you need to know". uefa.com. 16 October 2018.
  3. "Olympic Qualifier Draw complete". Oceania Football Confederation. 7 May 2019.
  4. "CAF confirms 2019 Total U-23 Africa Cup of Nations in Egypt will be played in November". Ghana Soccernet. 29 September 2018.
  5. "FA Thailand proposed as 2020 AFC U-23 Championship host". AFC. สืบค้นเมื่อ 30 August 2018.
  6. "Colombia será sede del Campeonato Sudamericano Preolímpico Sub-23 del 2020". conmebol.com. 14 August 2018.
  7. "Guadalajara Set to Host the 2020 Concacaf Men's Olympic Qualifying Tournament". www.concacaf.com (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-08-22. สืบค้นเมื่อ 2019-08-22.
  8. 8.0 8.1 "Regulations for the Olympic Football Tournaments Tokyo 2020" (PDF). FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-05-18. สืบค้นเมื่อ 2021-07-17. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "regulations" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  9. "Tokyo 2020 Olympic draws to be held at the Home of FIFA". FIFA. 22 March 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-03-22. สืบค้นเมื่อ 22 March 2021.
  10. "Draws set path to Tokyo 2020 gold". FIFA. 21 April 2021. สืบค้นเมื่อ 21 April 2021.
  11. "Draw Procedures – Olympic Football Tournaments Tokyo 2020 – Men's tournament" (PDF). FIFA.
  12. "Men's Olympic Football Tournament Tokyo 2020 – Matches". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-03-21. สืบค้นเมื่อ 6 February 2020.
  13. 13.0 13.1 13.2 "Attendance Summary" (PDF). Olympics.com. 24 July 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-07-25. สืบค้นเมื่อ 31 July 2021.
  14. "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-08-11. สืบค้นเมื่อ 2021-08-06.