การจัดการงานนอกสั่ง

การจัดการงานนอกสั่ง เป็นกรณีที่บุคคลคนหนึ่งเข้าทำบางสิ่งบางอย่างแทนอีกบุคคลหนึ่งโดยที่เขามิได้มอบหมายเลยก็ดี หรือโดยที่ไม่มีสิทธิทำเช่นนั้นเลยก็ดี เป็นเหตุให้บุคคลทั้งสองนี้เกิดสิทธิและหน้าที่ต่อกันตามที่กฎหมายบัญญัติ แม้อันที่จริงแล้ว เขาอาจไม่ประสงค์จะผูกความสัมพันธ์กันในทางกฎหมายเลยก็ตาม[1]

การจัดการงานนอกสั่งเป็นมูลหนี้ (บ่อเกิดของหนี้) ประเภทนิติเหตุ ตรงกันข้ามกับมูลหนี้ประเภทนิติกรรม[2]

การจัดการงานนอกสั่งนั้น ภาษาละตินว่า negotiorum gestio แปลว่า การจัดการงาน (ของผู้อื่น) ส่วนในภาษาอังกฤษนั้นมีชื่อเรียกต่าง ๆ กันไป เช่น

เชิงอรรถและอ้างอิง

แก้
  1. ศนันท์กรณ์ โสตถิพันธุ์. (2552). คำอธิบายกฎหมายลักษณะละเมิด จัดการงานนอกสั่ง ลาภมิควรได้. (พิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ : วิญญูชน. ISBN 978-974-288-751-3. หน้า 348.
  2. ศนันท์กรณ์ โสตถิพันธุ์. (2552). คำอธิบายกฎหมายลักษณะละเมิด จัดการงานนอกสั่ง ลาภมิควรได้. (พิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ : วิญญูชน. ISBN 978-974-288-751-3. หน้า 17.
  3. See BGB - Book 2 - Title 13
  4. See FCC - Book 3 - Title 4 เก็บถาวร 2006-05-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  5. See JCC - Article 697 เก็บถาวร 2012-04-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน