ในคณิตศาสตร์ กฎของรุฟฟีนีคือวิธีการคำนวณการหารแบบยุคลิดของพหุนามด้วยทวินามในรูป ได้รับการอธิบายไว้โดยปาโอโล รุฟฟีนี ใน ค.ศ. 1809[1] กฎนี้เป็นกรณีพิเศษของการหารสังเคราะห์เมื่อตัวหารเป็นตัวประกอบเชิงเส้น

ขั้นตอนวิธี แก้

กฎนี้กำหนดวิธีการหารพหุนาม

 

ด้วยทวินาม

 

เพื่อจะได้พหุนามผลหาร

 

ขั้นตอนวิธีนี้เทียบได้กับการหารยาว   ด้วย  

การหาร   ด้วย  

  1. เอาสัมประสิทธิ์ของ   แล้วเขียนลงตามลำดับ แล้วเขียน   ขอบซ้ายล่างเหนือเส้น

 

  1. ดึงสัมประสิทธิ์ซ้ายสุด ( ) ลงมาใต้เส้น

 

  1. คูณจำนวนที่ถูกดึงใต้เส้นด้วย   แล้วเขียนผลคูณบนเส้นภายในหลักถัดไปทางขวา

 

  1. บวกกันภายในหลักที่ได้เขียนตัวเลขไป

 

  1. ทำขั้นตอนที่ 3 และ 4 ซ้ำไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะถึงขอบขวาสุด

 

ค่า   ต่าง ๆ คือค่าของสัมประสิทธิ์พหุนามผลหาร ( ) ที่มีดีกรีน้อยกว่า   อยู่หนึ่ง ค่าสุดท้าย   คือเศษเหลือ ทฤษฎีบทเศษเหลือพหุนามบอกไว้ว่าเศษเหลือจะมีค่าเท่ากับ   ที่   หรือ  

ตัวอย่าง แก้

นี่เป็นตัวอย่างการหารพหนามตามที่ได้อธิบายไว้

ให้

 

 

  จะถูกหารด้วย   โดยใช้กฎของรุฟฟีนี ปัญหาคือ   ไม่ได้อยู่ในรูปทวินาม   แต่อยู่ในรูป   จึงต้องเปลี่ยนรูปโดยการ

 

ตอนนี้สามารถใช้ขั้นตอนวิธีได้

  1. เขียนสัมประสิทธิ์และ   ลงไป สังเกตว่า   ไม่มีพจน์   จึงเขียน 0 ลงไปทดแทน

 

  1. ดึงสัมประสิทธิ์ตัวแรกลง

 

  1. คูณค่าที่ได้ด้วย  

 

  1. รวมค่าด้วยกัน

 

  1. ทำซ้ำขั้นตอนที่ 3 และ 4 จนกว่าจะเสร็จ

 

จาก   เมื่อ

  และ  

การประยุกต์ใช้ในการแยกตัวประกอบ แก้

กฎของรุฟฟีนีใช้ได้เมื่อต้องการจะหาผลหารระหว่างพหุนาม   กับทวินามในรูป   (ถ้าตองการหาแค่เศษเหลือ ทฤษฎีบทเศษเหลือพหุนามจะเป็นวิธีที่ง่ายกว่า)

ตัวอย่างทั่ว ๆ ไปเมื่อต้องการหาผลหาร คือการแยกตัวประกอบ   เมื่อทราบคำตอบ  

เศษเหลือของการหารแบบยุคลิดของ  ด้วย   คือ   และถ้าผลหารคือ   การหารแบบยุคลิดจะเขียนได้ดังนี้

 

เป็นการแยกตัวประกอบ (อาจจะบางส่วน) ของ   ซึ่งสามารถคำนวณโดยใช้กฎของรุฟฟีนี แล้วสามารถแยกตัวประกอบ   ต่อโดยการแยกตัวประกอบ  

ทฤษฎีบทมูลฐานของพีชคณิตบอกไว้ว่าทุกพหุนามที่มีดีกรีเป็นบวกจะมีคำตอบอย่างน้อยหนึ่งคำตอบที่เป็นจำนวนเชิงซ้อน กระบวนการข้างบนยังแสดงได้ว่าทฤษฎีบทมูลฐานของพีชคณิตส่อให้เห็นว่าทุกพหุนามในรูป   สามารถแยกตัวประกอบได้เป็น

 

เมื่อ   เป็นจำนวนเชิงซ้อน

ประวัติ แก้

ผู้คิดค้นวิธีนี้คือปาโอโล รุฟฟีนี เขาได้เข้าร่วมการแข่งขันที่บัณฑิตยสถานวิทยาศาสตร์แห่งชาติอิตาลีจัดขึ้น โดยปัญหาท้าทายคือหาวิธีในการหาคำตอบของพหุคูณทั่วไป ใน ค.ศ. 1804 คำตอบที่รุฟฟีนีที่ส่งไปได้อันดับที่หนึ่งจาก 5 ฉบับที่มีผู้ส่งไป และวิธีของเขาได้รับการตีพิมพ์ เขาได้ปรับแต่งงานของเขาและตีพิมพ์ใน ค.ศ. 1807 และอีกครั้งใน ค.ศ. 1813

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. Cajori, Florian (1911). "Horner's method of approximation anticipated by Ruffini" (PDF). Bulletin of the American Mathematical Society. 17 (8): 389–444. doi:10.1090/s0002-9904-1911-02072-9.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้