ทฤษฎีบทเศษเหลือพหุนาม

ในพีชคณิต ทฤษฎีบทเศษเหลือพหุนาม (อังกฤษ: Polynomial remainder theorem) หรือทฤษฎีบทเล็กของเบซู (ตั้งชื่อตามเอเตียน เบซู (Étienne Bézout))[1] เป็นการประยุกต์ใช้การหารพหุนามแบบยุคลิด (Euclidean division of polynomial) ซึ่งทฤษฎีบทนี้กล่าวว่าเศษเหลือจากการหารพหุนาม ด้วยพหุนามเชิงเส้น เท่ากับ และ เป็นตัวหารของ ก็ต่อเมื่อ [2] เป็นคุณสมบัติที่เรียกว่าทฤษฎีบทตัวประกอบ (factor theorem)

ตัวอย่าง

แก้

ตัวอย่าง 1

แก้

ให้   การหารพหุนาม   ด้วย   ให้ผลหาร   และเหลือเศษ   เพราะฉะนั้น  

ตัวอย่าง 2

แก้

แสดงให้เห็นว่าทฤษฎีบทเศษเหลือพหุนามเป็นจริงกับพหุนามดีกรี 2   ใด ๆ ด้วยการจัดรูปพีชคณิต:

 

คูณทั้งสองฝั่งด้วย (x − r) ได้

 .

ในเมื่อ   เป็นเศษเหลือ เราได้แสดงให้เห็นแล้วว่า  .

การพิสูจน์

แก้

ทฤษฎีบทเศษเหลือพหุนามตามมาจากขั้นตอนวิธีแบบยุคลิดสำหรับพหุนามที่บอกว่าเมื่อกำหนดพหุนามสองตัวf(x) (ตัวตั้งหาร) และ g(x) (ตัวหาร) จะมีพหุนามผลหาร Q(x) และพหุนามเศษเหลือ R(x) เพียงชุดเดียวที่สอดคล้องกับสมการ

  และ   หรือ  

ถ้าตัวหาร   เมื่อ r เป็นค่าคงตัว ก็อาจเป็นได้ทั้ง R(x) = 0 หรือมีดีกรี 0 ซึ่งในทั้งสองกรณี R(x) เป็นค่าคงตัวที่ขึ้นอยู่กับ x คือ

 

เมื่อกำหนดให้   ในสูตรนี้แล้วก็จะได้:

 

มีการพิสูจน์ที่ต่างกันเล็กน้อยซึ่งอาจดูพื้นฐานกว่าสำหรับบางคน เริ่มต้นจากการสังเกตว่า   เป็นผลรวมเชิงเส้นของพจน์ในรูป   ซึ่งแต่ละพจน์สามารถหารได้ด้วย   เพราะ  

การประยุกต์

แก้

ทฤษฎีบทเศษเหลือพหุนามสามารถใช้เพื่อหา   ด้วยการคำนวนหาเศษเหลือ   แต่การหารยาวพหุนาม (polynomial long division) ก็ยากกว่าการหาค่าฟังก์ชันไปเลย และการหารสังเคราะห์ (synthetic division) คำนวณได้ง่ายกว่า ดังนั้นเราอาจสามารกหาค่าของฟังก์ชันได้ด้วยการใช้การหารสังเคราะห์และทฤษฎีบทเศษเหลือพหุนาม

ทฤษฎีบทตัวประกอบเป็นการประยุกต์ใช้ทฤษฎีบทเศษเหลืออีกเรื่องหนึ่ง: ถ้าเศษเหลือเท่ากับศูนย์ ตัวหารสมการเชิงเส้นนั้นเป็นตัวประกอบของพหุนาม สามารถหาตัวประกอบของพหุนามได้ด้วยการใช้ทฤษฎีบทตัวประกอบซ้ำหลายครั้ง[3]

อ้างอิง

แก้
  1. Piotr Rudnicki (2004). "Little Bézout Theorem (Factor Theorem)" (PDF). Formalized Mathematics. 12 (1): 49–58.
  2. Larson, Ron (2014), College Algebra, Cengage Learning
  3. Larson, Ron (2011), Precalculus with Limits, Cengage Learning