โพลาไรเซอร์มีผลทำให้แอมพลิจูดของสนามไฟฟ้า E0 ของคลื่นที่ส่งผ่านเหลือแค่ในส่วนทิศที่ตรงกับแกนของลาไรเซอร์ ในกรณีของคลื่นแสงโพลาไรซ์แบบเส้นตรง ค่านี้จะเป็นสัดส่วนกับโคไซน์ของมุม θ ดังนั้นแอมพลิจูดขาออกคือ
-
และความเข้มของการส่องสว่าง ตามคำนิยามแล้ว แปรผันตามกำลังสองของแอมพลิจูดของคลื่น
ดังนั้นเมื่อผ่านโพลาไรเซอร์ ความเข้มแสงจึงเป็น
-
ในกรณีของคลื่นที่ไม่โพลาไรซ์ สูตรจะพิสูจน์ได้โดยการหาค่าเฉลี่ยของฟังก์ชัน ซึ่งหากอนุมานแบบคร่าว ๆ เราจะเห็นว่าค่า อยู่ในช่วง 0 ถึง 1 เท่านั้น
|
|
|
|
|
|
|
|
ดังนั้นค่าเฉลี่ยของ จึงควรเป็น ดังนั้นสูตรคือ
อย่างไรก็ตาม การพิสูจน์อย่างเข้มงวดควรทำโดยหาค่าเฉลี่ยจากการคำนวณปริพันธ์ โดยฟังก์ชันนี้มีค่าสูงสุดเป็น 1 ที่มุม 0° และมีค่าต่ำสุดเป็น 0 ที่มุม 90° ดังนั้น หาค่าเฉลี่ยระหว่างค่าทั้งสองโดย
ซึ่งได้มาจากเอกลักษณ์ตรีโกณมิติ
จากนั้นทำการรวบแต่ละพจน์
เพื่อที่จะแก้หาปริพันธ์ ในที่นี้เราแทน และ
จากนั้นใช้สมบัติการแจกแจงของการคูณ และสมบัติการเปลี่ยนหมู่ของการบวก
ซึ่งได้มาจาก เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ
แล้วสุดท้ายก็จะได้
จากผลการหาปริพันธ์ที่ได้นี้ ความเข้มแสงเฉลี่ยทั้งหมดตั้งแต่มุม 0° ถึง 90° จะเป็น
ดังนั้นสำหรับคลื่นที่ไม่โพลาไรซ์ จึงได้ว่า
นั่นคือเมื่อแสงไม่โพลาไรซ์แผ่ผ่านโพลาไรเซอร์ ความเข้มจะลดลงเหลือครึ่งหนึ่ง