ความผิดปกติแบบท้าทายชอบทำตรงกันข้าม

(เปลี่ยนทางจาก Oppositional defiant disorder)

ความผิดปกติชนิดท้าทายและชอบทำตรงกันข้าม (อังกฤษ: Oppositional defiant disorder; ODD)[1] เป็นโรคใน DSM-5 ภายใต้กลุ่มความผิดปกติทางความประพฤติ และให้คำนิยามไว้ว่าเป็น "รูปแบบของอารมณ์โกรธและหงุดหงิด, พฤติกรรมเถียงหรือต่อต้าน หรือ มีเจตนาอาฆาตแค้น"[2] พฤติกรรมนี้มักกระทำลงกับเพื่อนร่วมชั้นเรียน, พ่อแม่, ครู หรือบุคคลใดๆที่อยู่ในสถานะที่เป็นผู้กุมอำนาจ[3] โดยโรคนี้มีความแตกต่างกับ ความผิดปกติทางความประพฤติ (CD) ตรงที่โรคนี้ “จะไม่แสดงอาการเกรี้ยวกราดต่อสัตว์หรือกับบุคคลอื่น ๆ แต่ยกเว้นในกลุ่มที่ระบุข้างต้นที่จะเกรี้ยวกราดในฐานะเป็นคู่ขัดแย้งจากพฤติกรรมนี้ แต่กลุ่มนี้จะไม่มีพฤติกรรมระบายอารมณ์โดยการทำลายทรัพย์สินสาธารณะฯ สิ่งของต่างๆ ที่ไม่มีชีวิต รวมถึงจะไม่มีพฤติกรรมขโมยหรือลักทรัพย์เพื่อเรียกร้องความสนใจ รวมถึงจะไม่มีการสร้างสถานการณ์เท็จหรือการสร้างเรื่องหลอกลวง[4] โรคนี้มีความเกี่ยวโยงกันกับโรคสมาธิสั้น (ADHD) ในระดับหนึ่ง และครึ่งหนึ่งของเด็กที่เป็น ODD เข้าข่ายการตรวจโรคเป็น ADHD[5][6][7]

ความผิดปกติชนิดท้าทายและชอบทำตรงกันข้าม
สาขาวิชาจิตเวชศาสตร์, จิตวิทยาคลินิก
การตั้งต้นเด็ก-วัยรุ่น
การรักษาซีบีที, ครอบครัวบำบัด, ให้คำปรึกษา

อ้างอิง

แก้
  1. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ AACAP_2009
  2. "Diagnostic Criteria 313.81 (F91.3)". Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders (Fifth ed.). American Psychiatric Association. 2013. ISBN 978-0-89042-554-1.
  3. "Oppositional Defiant Disorder (ODD) in Children". www.hopkinsmedicine.org (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2021-05-26.
  4. Nolen-Hoeksema S (2014). Abnormal Psychology. New York, NY: McGraw Hill. p. 323. ISBN 978-0-07-803538-8.
  5. Golubchik, Pavel, Shalev, Lilach, Tsamir, Dina, Manor, Iris, Weizman, Abraham. High pretreatment cognitive impulsivity predicts response of oppositional symptoms to methylphenidate in patients with attention-deficit hyperactivity disorder/oppositional defiant disorder. International Clinical Psychopharmacology. 2019;34(3):138-142. doi:10.1097/YIC.0000000000000252.
  6. Harvey EA, Breaux RP, Lugo-Candelas CI (2016). Early development of comorbidity between symptoms of attention-deficit/hyperactivity disorder (ADHD) and oppositional defiant disorder (ODD). J Abnorm Psychol125: 154–167.
  7. Waschbusch DA (2002). A meta-analytic examination of comorbid hyperactive-impulsive-attention problems and conduct problems. Psychol Bull128:118–150.

อ่านเพิ่ม

แก้
  • Latimer K, Wilson P, Kemp J, Thompson L, Sim F, Gillberg C, และคณะ (September 2012). "Disruptive behaviour disorders: a systematic review of environmental antenatal and early years risk factors". Child. 38 (5): 611–28. doi:10.1111/j.1365-2214.2012.01366.x. PMID 22372737.
  • Matthys W, Vanderschuren LJ, Schutter DJ, Lochman JE (September 2012). "Impaired neurocognitive functions affect social learning processes in oppositional defiant disorder and conduct disorder: implications for interventions". Clinical Child and Family Psychology Review. 15 (3): 234–46. doi:10.1007/s10567-012-0118-7. hdl:1874/386223. PMID 22790712. S2CID 3951467.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้
การจำแนกโรค