รายชื่อพรรคการเมืองในประเทศอินเดีย
บทความรายชื่อวิกิมีเดีย
(เปลี่ยนทางจาก List of political parties in India)
ประเทศอินเดียมีระบบหลายพรรค คณะกรรมการเลือกตั้งอินเดีย (ECI) เป็นผู้รับรองพรรคการเมืองทั้งระดับชาติและระดับรัฐ พรรคการเมืองที่ได้รับการรับรองจะมีสัญลักษณ์พรรค,[a] ได้รับเวลาการถ่ายทอดสดโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายบนโทรทัศน์และวิทยุของรัฐ, มีส่วนร่วมในการเลือกวันเลือกตั้ง เป็นต้น
ในเอกสารล่าสุดจาก 23 กันยายน 2021 ของคณะกรรมการเลือกตั้งอินเดีย จำนวนพรรคทั้งหมดที่ขึ้นทะเบียนแล้วมีอยู่ 2858 พรรค ในจำนวนนี้เป็นพรรคระดับชาติ 8 พรรค, พรรคระดับรัฐ 54 พรรค และพรรคที่ไม่ได้รับการรับรอง 2796 พรรค[3]
พรรคระดับชาติ
แก้พรรค | ธง | อักษรย่อ | ตำแหน่ง ทางการเมือง |
อุดมการณ์ | ก่อตั้ง | ได้รับการรับรอง เป็นพรรคระดับชาติ |
ผู้นำ | สัญลักษณ์ | จำนวนรัฐที่ครอง | โลกสภา | ราชยสภา | สภานิติบัญญัติ รัฐ |
ที่นั่งในสภา รัฐ | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ออลอินเดียตริณมูลคองเกรส |
AITC | ซ้ายกลาง | รัฐฆราวาส ประชานิยม หัวก้าวหน้า |
1 มกราคม 1998 | 2 กันยายน 2016 | มามาตา บาเนร์จี (ประธาน) |
1 / 31
|
25 / 543
|
13 / 245
|
235 / 4,036
|
0 / 426
| |||
พรรคพหุชนสมาช | BSP | ซ้ายกลาง | ความเท่าเทึยม ความยุติธรรม รัฐฆราวาส เคารพตนเอง สิทธิมนุษยชน |
14 เมษายน 1984 | 26 มกราคม 2013[4] | มายาวตี (ประธาน) |
0 / 31
|
10 / 543
|
1 / 245
|
7 / 4,036
|
1 / 426
| |||
พรรคภารตียชนตา | BJP | ขวากลาง, ขวา[5] | ชาตินิยมฮินดู มนุษยนิยมรวม อนุรักษนิยม อนุรักษนิยมทางสังคม |
6 เมษายน 1980 | เจ.พี. นัททา (ประธาน) |
19 / 31
|
301 / 543
|
99 / 245
|
1,411 / 4,036
|
110 / 426
| ||||
พรรคคอมมิวนิสต์อินเดีย | CPI | ซ้าย | คอมมิวนิสม์ มาร์กซิสม์-เลนนินนิสม์ |
26 ธันวาคม 1925 | ดี. ราชา (เลขาธิการใหญ่) |
0 / 31
|
2 / 543
|
2 / 245
|
21 / 4,036
|
2 / 426
| ||||
พรรคคอมมิวนิสต์อินเดีย (มาร์กซิสต์) | CPI(M) | ซ้าย | คอมมิวนิสม์ | 7 พฤศจิกายน 1964 | สีตาราม เยชุรี (เลขาธิการใหญ่) |
1 / 31
|
3 / 543
|
5 / 245
|
88 / 4,036
|
0 / 426
| ||||
คองเกรสแห่งชาติอินเดีย | INC | กลาง | เต็นต์ใหญ่ ชาตินิยมพลเมือง เสรีนิยม รัฐฆราวาส |
28 ธันวาคม 1885 | โสนิยา คานธี (ประธาน) |
2 / 31
|
53 / 543
|
31 / 245
|
678 / 4,036
|
43 / 426
| ||||
พรรคคคองเกรสชาตินิยม | NCP | ซ้ายกลาง | เสรีนิยม คานธีนิยม |
10 มิถุนายน 1999 | ชาราด ปวัร (ประธาน) |
0 / 31
|
5 / 543
|
3 / 245
|
59 / 4,036
|
11 / 426
| ||||
พรรคประชาชนแห่งชาติ | NPP | กลาง | ภูมิภาคนิยม ชาติพันธ์ุเป็นศูนย์กลาง |
6 มกราคม 2013 | 7 มิถุนายน 2019 | คอนราด สังมา (ประธาน) |
1 / 31
|
1 / 543
|
1 / 245
|
33 / 4,036
|
0 / 426
|
พรรคระดับรัฐ
แก้พรรค | ธง | อักษรย่อ | ตำแหน่ง ทางการเมือง |
อุดมการณ์ | ก่อตั้ง | ผู้นำ | รับรองใน | Election symbol |
จำนวนรัฐที่นำ | โลกสภา | ราชยสภา | สภานิติบัญญัติ รัฐ |
สภา รัฐ | ||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
3 รัฐ | พรรคอามอาทมี | AAP | กลาง, ซ้ายกลาง | ชาตินิยมเศรษฐกิจ[6] รัฐฆราวาส[7] ชาตินิยม[8] ภูมิใจในชาติ[9] มนุษยนิยม[9] |
2012 | อรวินท์ เกชริวาล | เดลี ปัญจาบ กัว |
2 / 31
|
0 / 543
|
10 / 245
|
156 / 4,036
|
0 / 426
| |||
ชนตาดาล (ฆราวาส) | JD(S) | ซ้ายกลาง | ประชาธิปไตยสังคม[10] รัฐฆราวาส[10] |
1999 | เอช.ดี. เทเว โควทา | อรุณาจัลประเทศ กรณาฏกะ เกรละ |
0 / 31
|
1 / 543
|
1 / 245
|
34 / 4,036
|
13 / 426
| ||||
ชนตาดาล (ยูไนเต็ด) | JD(U) | ซ้ายกลาง | สังคมนิยม[11] รัฐฆราวาส[11] มนุษยนิยมรวม[12] |
2003 | นิตีศ กุมาร | อรุณาจับประเทศ พิหาร มณีปุระ |
1 / 31
|
16 / 543
|
5 / 245
|
52 / 4,036
|
23 / 426
| ||||
2 รัฐ |
|
อ้างอิง
แก้- ↑ "Names of National State, registered-unrecognised parties and the list of free symbols" (PDF). Election Commission of India. 12 March 2014. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 May 2015. สืบค้นเมื่อ 8 May 2015.
- ↑ "State Party List" (PDF). Election Commission of India. 13 December 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 14 February 2017.
- ↑ 3.0 3.1 3.2 "List of Political Parties & Symbol MAIN Notification". Election Commission of India. 23 September 2021.
- ↑ "Bsp Gets National Party Status, Janata Party Derecognised". Business Standard. 27 January 2013. สืบค้นเมื่อ 19 March 2022.
- ↑ "What is left-wing and right-wing politics?". Jagran Josh. 14 Oct 2020. สืบค้นเมื่อ 14 Oct 2020.
- ↑ Nikore, Mitali (15 January 2014), The populist politics of the Aam Aadmi Party, London School of Economics, เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 December 2016, สืบค้นเมื่อ 30 November 2016
- ↑ "AAP's vision of secularism: Big on intention, weak on substance - Politics News, Firstpost". 21 March 2014.
- ↑ *"AAP's ideological dilemma and tryst with tricolour nationalism". 12 March 2021. สืบค้นเมื่อ 17 May 2021.
- "Delhi Budget explained: Deshbhakti with 500 national flags, benefits for women and vision 2047". 10 March 2021. สืบค้นเมื่อ 17 May 2021.
- "अरविंद केजरीवाल ने इन 3 को बताया AAP की विचारधारा". 30 March 2022. สืบค้นเมื่อ 30 March 2022.
- ↑ 9.0 9.1 "Extreme-Patriotism, Honesty and Humanism-three pillars of AAP, claims Kejriwal". The Economic Times. 29 March 2022.
- ↑ 10.0 10.1 "Janata Dal (Secular) JD(S)". elections.in. สืบค้นเมื่อ 3 September 2021.
- ↑ 11.0 11.1 "Lok Sabha Elections 2014: Know your party symbols!". Daily News and Analysis. 10 April 2014.
- ↑ About Janta Dal United (JDU). "Janta Dal United (JD(U)) – Party History, Symbol, Founders, Election Results and News". Elections.in. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 March 2017. สืบค้นเมื่อ 12 March 2017.
อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref>
สำหรับกลุ่มชื่อ "lower-alpha" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="lower-alpha"/>
ที่สอดคล้องกัน