อินเทล
เนื้อหาในบทความนี้ล้าสมัย โปรดปรับปรุงข้อมูลให้เป็นไปตามเหตุการณ์ปัจจุบันหรือล่าสุด ดูหน้าอภิปรายประกอบ |
อินเทล (Intel) เป็นบริษัทผลิตชิพสารกึ่งตัวนำที่ใหญ่ที่สุดในโลกเมื่อวัดจากรายได้ บริษัทอินเทลเป็นผู้คิดค้นไมโครโพรเซสเซอร์ตระกูลx86 ออกมาวางจำหน่าย ซึ่งเป็นไมโครโปรเซสเซอร์ที่ใช้กันมากที่สุดในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล[1] อินเทลก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1968 ในชื่อ Integrated Electronics Corporation โดยมีสำนักงานอยู่ที่ซานตาคลารา รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา อินเทลยังเป็นผู้ผลิตชิพเซตของเมนบอร์ด, เน็ตเวิร์คการ์ดและแผงวงจรรวม, แฟลชเมโมรี, ชิพกราฟิค, โปรเซสเซอร์ของระบบฝังตัว ตลอดจนอุปกรณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
สำนักงานใหญ่ที่ซานตาคลารา | |
ประเภท | บริษัทมหาชน (NASDAQ: INTC) |
---|---|
ISIN | US4581401001 |
อุตสาหกรรม | เซมิคอนดัคเตอร์ |
ก่อตั้ง | ค.ศ. 1968 |
ผู้ก่อตั้ง | แอนดรูว์ โกรฟ โรเบิร์ต นอยซ์ กอร์ดอน มัวร์ |
สำนักงานใหญ่ | ซานตาคลารา รัฐแคลิฟอร์เนีย |
บุคลากรหลัก | แอนดี ไบรอันต์ (ประธานบริษัท) ไบรอัน คระซานนิช (CEO) เรอเน เจมส์ (ประธานบริหาร) |
ผลิตภัณฑ์ | ไมโครโพรเซสเซอร์ หน่วยความจำแบบแฟลช |
รายได้ | 63.05 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (2022) |
รายได้จากการดำเนินงาน | 2,334,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ (พ.ศ. 2565) |
รายได้สุทธิ | 8,014,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ (พ.ศ. 2565) |
สินทรัพย์ | 168,406,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ (พ.ศ. 2564) |
พนักงาน | 131,900 คน (2022) |
เว็บไซต์ | www.intel.com |
อินเทลก่อตั้งขึ้นโดย กอร์ดอน มัวร์ (Gordon Moore) และโรเบิร์ต นอยซ์ (Robert Noyce) ผู้เชี่ยวชาญด้านสารกึ่งตัวนำ โดยเป็นอดีตพนักงานของ Fairchild Semiconductor พนักงานยุคแรกเริ่มที่สำคัญอีกคนของอินเทลคือ แอนดรูว์ โกรฟ ซึ่งในภายหลังเป็นผู้บริหารคนสำคัญ ที่ทำให้อินเทลก้าวขึ้นมาเป็นบริษัทระดับโลกในปัจจุบัน
แต่เดิมนั้น ชื่อของอินเทลจะเป็นที่รู้จักเฉพาะในหมู่วิศวกรและนักเทคโนโลยีเท่านั้น แต่หลังจากที่โฆษณา อินเทล อินไซด์ ประสบผลสำเร็จอย่างกว้างขวางในช่วงทศวรรษ 1990 ชื่อของอินเทลก็กลายเป็นที่รู้จักของคนทั่วไปในทันที โดยมีผลิตภัณฑ์ที่เป็นที่รู้จักคือ หน่วยประมวลผลกลางตระกูลเพนเทียม (Pentium)
ผลิตภัณฑ์
แก้โพรเซสเซอร์
แก้- โพรเซสเซอร์ (รุ่นปัจจุบัน)
- EP80579
- อินเทล ซีอี (Intel CE)
- อะตอม (Atom)
- เซเลรอน (Celeron)
- เพนเทียม (Pentium) และ ดูอัล-คอร์ (Dual-Core)
- คอร์ (Core) (i3 · i5 · i7 · i9)
- ซีออน (Xeon)
- ไอโอพี (IOP)
- ไอทาเนียม (Itanium)
- โพรเซสเซอร์ (รุ่นก่อนหน้า)
- 80386
- 80486
- เพนเทียม (เพนเทียม (รุ่นแรก), โอเวอร์ไดรฟ์, โปร, เพนเทียม II, เพนเทียม III, เพนเทียม 4, เพนเทียม M, เพนเทียม D)
- เซเลรอน M, เซเรลอน D
- อินเทล คอร์ 2
แพลตฟอร์ม
แก้- เซนตรีโน (Centrino)
- วีโปร (vPro)
- ไวฟ์ (Viiv)
- เอ็มไอดี (MID)
- สกัลเทรล (Skulltrail)
- อินเทล เซิฟเวอร์ เก็บถาวร 2020-09-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (Intel Serveredge)
- สำหรับโมบายล์ (Intel® Core™ M Processors)
รายชื่อโพรเซสเซอร์รุ่น คอร์
แก้อินเทล เจนเนอเรชั่น 1 (Socket:1156,rPGA-988A,BGA1288)
แก้Intel® Core™ i3-330E
Intel® Core™ i3-330M
Intel® Core™ i3-330UM
Intel® Core™ i3-350M
Intel® Core™ i3-370M
Intel® Core™ i3-380M
Intel® Core™ i3-380UM
Intel® Core™ i3-390M
Intel® Core™ i3-530
Intel® Core™ i3-540
Intel® Core™ i3-550
Intel® Core™ i3-560
Intel® Core™ i5-430M
Intel® Core™ i5-430UM
Intel® Core™ i5-450M
Intel® Core™ i5-460M
Intel® Core™ i5-470UM
Intel® Core™ i5-480M
Intel® Core™ i5-520E
Intel® Core™ i5-520M
Intel® Core™ i5-520UM
Intel® Core™ i5-540M
Intel® Core™ i5-540UM
Intel® Core™ i5-560M
Intel® Core™ i5-560UM
Intel® Core™ i5-580M
Intel® Core™ i5-650
Intel® Core™ i5-655K
Intel® Core™ i5-660
Intel® Core™ i5-661
Intel® Core™ i5-670
Intel® Core™ i5-680
Intel® Core™ i5-750
Intel® Core™ i5-750S
Intel® Core™ i5-760
อินเทล เจนเนอเรชั่น 2 (Socket:LGA1155)
แก้Intel® Core™ i3-2100
Intel® Core™ i5-2400
Intel® Core™ i7-2600
อินเทล เจนเนอเรชั่น 3 (Socket:FCLGA1155)
แก้Intel® Core™ i3-3220
Intel® Core™ i5-3470
Intel® Core™ i7-3770
โลโก้
แก้
|
อ้างอิง
แก้- ↑ Intel 2007 Annual Report
- ↑ "Intel Unveils New Brand Identity". Intel Corporation. January 3, 2006. สืบค้นเมื่อ September 4, 2020.
- ↑ Nystedt, Dan (December 30, 2005). "'Intel Inside' out as company launches a new slogan". Computerworld. สืบค้นเมื่อ September 4, 2020.
- ↑ Walker, Karen (September 2, 2020). "Sparking the Next Era for the Intel Brand". Intel Newsroom. สืบค้นเมื่อ September 4, 2020.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- Intel official website
- อินเทล ที่เว็บไซต์ Curlie
- Intel Software Network