โฮ่วฮั่นชู
โฮ่วฮั่นชู (จีน: 後漢書) หรือ ตำราประวัติศาสตร์ราชวงศ์ฮั่นยุคหลัง เป็นหนึ่งในตำราประวัติศาสตร์จีนยี่สิบสี่ชุดและมีเนื้อหาครอบคุลมประวัติศาสตร์ยุคราชวงศ์ฮั่นตั้งแต่ปี ค.ศ. 6 ถึง ค.ศ. 189 ซึ่งเป็นยุคที่รู้จักในคำเรียกว่ายุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออกหรือราชวงศ์ฮั่นยุคหลัง ตำรารวบรวมโดยฟ่าน เย่และคนอื่น ๆ ในศตวรรษ 5 ในยุคราชวงศ์หลิวซ่ง โดยใช้ตำราประวัติศาสตร์และเอกสารในยุคก่อน ๆ จำหนวนหนึ่งเป็นแหล่งข้อมูล
โฮ่วฮั่นชู | |
---|---|
หน้าแรกของตำราโฮ่วฮั่นชู | |
ผู้ประพันธ์ | ฟ่าน เย่และคณะ |
ชื่อเรื่องต้นฉบับ | 後漢書 |
ประเทศ | จีน |
ภาษา | ภาษาจีนโบราณ |
หัวเรื่อง | ประวัติศาสตร์จีนโบราณ(ราชวงศ์ฮั่น) |
วันที่พิมพ์ | ศตวรรษที่ 5 |
โฮ่วฮั่นชู | |||||||||||||
อักษรจีนตัวเต็ม | 後漢書 | ||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
อักษรจีนตัวย่อ | 后汉书 | ||||||||||||
|
ภูมิหลัง
แก้ในปี ค.ศ. 23 หวัง หมั่งขุนนางราชวงศ์ฮั่นถูกโค่นล้มโดยการก่อการกำเริบของกลุ่มชาวนาที่รู้จักในคำเรียกว่ากลุ่มคิ้วแดง[1] การล่มสลายของหวัง หมั่งเป็นการแบ่งราชวงศ์ฮั่นยุคต้น (ราชวงศ์ฮั่นตะวันตก) ออกจากราชวงศ์ฮั่นยุคหลัง (ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก)
โฮ่วฮั่นชูในฐานะตำราประวัติศาสตร์ดั้งเดิมมีความแปลกที่รวบรวมเสร็จเมื่อกว่าสองร้อยปีให้ลังจากการล่มสลายของราชวงศ์ แหล่งข้อมูลปฐมภูมิของฟ่าน เย่คือ ตงกวานฮั่นจี้ (東觀漢記; "บันทึกราชวงศ์ฮั่นแห่งสำนักตะวันออก") ซึ่งเขียนขึ้นร่วมสมัยราชวงศ์ฮั่น[2]
เนื้อหา
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ L., Tignor, Robert (24 October 2013). Worlds together, worlds apart. Adelman, Jeremy,, Aron, Stephen,, Brown, Peter, 1935-, Elman, Benjamin A., 1946-, Liu, Xinru,, Pittman, Holly (Fourth edition, [Two volume edition] ed.). New York. ISBN 978-0393922080. OCLC 870312289.
- ↑ Durrant, Stephen (2017). "Chapter 13: Histories (Shi 史)". The Oxford Handbook of Classical Chinese Literature (1000 BCE-900CE) (e-book ed.). New York: Oxford University Press. pp. 195–196.
บรรณานุกรม
แก้- Chavannes, Édouard (1906). "Trois généraux chinois de la dynastie des Han orientaux. Pan Tch’ao (32-102 p.C.); – son fils Pan Yong; – Leang K’in (112 p.C.). Chapitre LXXVII du Heou Han chou." T'oung Pao, Série II, Vol. 7, pp. 210–269.
- Chavannes, Édouard (1907). "Les pays d'occident d'après le Heou Han chou". T'oung Pao (8): 149–244. doi:10.1163/156853207X00111.
- Hill, John (2015). Through the Jade Gate - China to Rome: A Study of the Silk Routes 1st to 2nd Centuries CE. Volumes I & II. CreateSpace.
- Yu, Taishan. 2004. A History of the Relationships between the Western and Eastern Han, Wei, Jin, Northern and Southern Dynasties and the Western Regions. Sino-Platonic Papers No. 131 March, 2004. Dept. of East Asian Languages and Civilizations, University of Pennsylvania.
- Tan, Jiajian, Hou Hanshu (Book of Later Han). Encyclopedia of China (Chinese Literature Edition), 1st ed.
- Wylie, Alexander (1882). "Ethnography of the After Han Dynasty". Revue d'Extrême-Orient. Paris: Ernest Leroux. 1: 52–83, 198–246, 423–478. hdl:2027/mdp.39015011559534. Contains Wylie's English translation of Volumes 85 (History of the Eastern Barbarians), 86 (History of the Southern and South-Western Barbarians) and 87 (History of the Western Keang) of the Book of the Later Han.
อ่านเพิ่มเติม
แก้- Yap, Joseph P. (2019). The Western Regions, Xiongnu and Han, from the Shiji, Hanshu and Hou Hanshu. ISBN 978-1792829154.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- Silk Road Seattle - University of Washington (The Silk Road Seattle website contains many useful resources including a number of full-text historical works, maps, photos, etc.)
- Hou Han Shu
- โฮ่วฮั่นชู 《後漢書》 ข้อความภาษาจีนพร้อมศัพท์ภาษาอังกฤษที่เข้าคู่