โจซุน
โจซุน (เสียชีวิต ค.ศ. 210) ชื่อรอง จื่อเหอ[3] เป็นนายทหารรับใช้ภายใต้ขุนศึก โจโฉ ในช่วงปลาย ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ของจีน เขาเป็นลูกพี่ลูกน้องคนที่สองของ โจโฉ และเป็นที่รู้จักกันดีในการเป็นผู้นำทหารม้าอัศวินพยัคฆ์เสือดาว (虎豹騎) หน่วยทหารม้าชั้นยอด ในการต่อสู้หลายครั้งกับคู่แข่งของโจโฉ รวมไปถึง อ้วนถำ เป๊กตุ้น และ เล่าปี่ พี่ชายของเขา โจหยิน ยังรับราชการเป็นนายทหารภายใต้โจโฉ
โจซุน | |
---|---|
曹純 | |
ขุนนางที่ปรึกษา (議郎) (ภายใต้โจโฉ) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. ? – ค.ศ. ? | |
กษัตริย์ | พระเจ้าเหี้ยนเต้ |
ชานซือคงจฺวินชื่อ (參司空軍事) (ภายใต้โจโฉ) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. ? – ค.ศ. ? | |
กษัตริย์ | พระเจ้าเหี้ยนเต้ |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | ไม่ทราบ[1] |
เสียชีวิต | ค.ศ. 210[2] |
บุตร | เฉา เหยี่ยน |
บุพการี |
|
ความสัมพันธ์ | โจหยิน (พี่ชาย) โจโฉ (ลูกพี่ลูกน้อง) |
อาชีพ | นายทหาร |
ชื่อรอง | จื่อเหอ (子和) |
ชื่อหลังเสียชีวิต | เวย์โหว (威侯) |
บรรดาศักดิ์ | เกาหลิงถิงโหว (高陵亭侯) |
ชีวิต
แก้โจซุนกับโจหยิน พี่ชาย เป็นลูกพี่ลูกน้องที่เด็กกว่าของโจโฉ[4] เฉา เปา (曹襃) ปู่ของพวกเขา กับเฉา ชื่อ (曹熾) พ่อของพวกเขา ดำรงตำแหน่งในราชสำนักราชวงศ์ฮั่นตะวันออก[5] พ่อของพวกเขาเสียชีวิตตอนโชซุนอายุ 13 ปี ทำให้โจซุนกับโจหยินอาศัยอยู่กับครอบครัวอื่น
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ลูกหลาน
แก้เฉา เหยี่ยน (曹演) บุตรโจซุน ดำรงตำแหน่งนายพลในรัฐวุยก๊กช่วงสมัยสามก๊ก และอยู่ในตำแหน่งขุนพลนำทัพ (領軍將軍) จากนั้นในช่วง ค.ศ. 254 ถึง 256 เขาได้รับบรรดาศักดิ์เป็น ผิงเล่อเซียงโหว (平樂鄉侯) หลังเสียชีวิต เฉา เลี่ยง (曹亮) บุตรของเขา ถือบรรดาศักดิ์ของบิดาต่อ[6]
ดูเพิ่ม
แก้หมายเหตุ
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ ในขณะที่ไม่มีการบันทึกปีเกิดของโจซุน เขาอายุน้อยกว่าโจหยินที่เกิดใน ค.ศ. 168
- ↑ de Crespigny (2007), p. 40.
- ↑ (英雄記曰:純字子和。) Yingxiong Ji annotation in Sanguozhi vol. 9.
- ↑ (曹仁字子孝,太祖從弟也。 ... 仁弟純, ...) Sanguozhi vol. 9.
- ↑ (魏書曰:仁祖襃,潁川太守。父熾,侍中、長水校尉。) Wei Shu annotation in Sanguozhi vol. 9.
- ↑ (子演嗣,官至領軍將軍,正元中進封平樂鄉侯。演薨,子亮嗣。) Sanguozhi vol. 9.
- ตันซิ่ว (คริสต์ศตวรรษที่ 3). สามก๊กจี่ (ซานกั๋วจื้อ).
- de Crespigny, Rafe (2007). A biographical dictionary of Later Han to the Three Kingdoms (23–220 AD). Leiden: Brill. ISBN 978-90-04-15605-0.
- เผย์ ซงจือ (คริสต์ศตวรรษที่ 5). อรรถาธิบายสามก๊กจี่ (ซานกั๋วจื้อจู้).