แอดเฮียเรนส์จังก์ชัน
แอดเฮียเรนส์จังก์ชัน (อังกฤษ: Adherens junctions) หรือโซนูลา แอดเฮียเรนส์ (zonula adherens), จังก์ชันระหว่างกลาง (อังกฤษ: intermediate junction), เดสโมโซมเข็มขัด (อังกฤษ: belt desmosome)[1] เป็นโปรตีนคอมเพลกซ์ที่เกิดขึ้นที่รอยต่อระหว่างเซลล์ในเนื้อเยื่อบุผิว (epithelial) และเนื้อเยื่อบุโพรง (endothelial)[2] โดยทั่วไปแล้วมีความเบซัล (basal) กว่าไทต์จังก์ชัน นิยามของแอดฮาเรนส์จังก์ชันคือเป็นเซลล์จังก์ชันที่ซึ่งด้านที่เจอกับไซโทพลาซึม (cytoplasmic face) นั้นเชื่อมต่อกับไซโทสเกตันแอกติน
Adherens junction | |
---|---|
รายละเอียด | |
ตัวระบุ | |
ภาษาละติน | junctio adhaesionis |
MeSH | D022005 |
TH | H1.00.01.1.02002 |
FMA | 67400 |
อภิธานศัพท์กายวิภาคศาสตร์ |
แอดเฮียเรนส์จังก์ชันนั้นอาจปรากฏในรูปวงล้อมรอบเซลล์ (โซนูลา แอดฮาเรนส์; zonula adherens) หรือเป็นจุดที่ติดอยู่บนเมทริกซ์นอกเซลล์ (แอดฮาเรนส์เพลก; adhesion plaques)
แอดเฮียเรนส์จังก์ชันจะสลายตัวเป็นรูปแบบเฉพาะ (uniquely disassemble) ในเซลล์เยื่อบุผิวมดลูก (uterine epithelial cells) เพื่อให้บลาสโตซิสต์ (blastocyst) สามารถแทรกซึม (ฝังตัว) ไปในระหว่างเซลล์เยื่อบุผิวได้[3]
อ้างอิง
แก้- ↑ Pardo, JV, Craig, SW (1979). "alpha-Actinin localization in the junctional complex of intestinal epithelial cells". J Cell Biol. 80: 203–210. doi:10.1083/jcb.80.1.203. PMC 2110298. PMID 370125. สืบค้นเมื่อ 15 October 2014.
- ↑ Guo, Renyong; Sakamoto, Hiroshi; Sugiura, Shigeki (October 2006). "Endothelial Cell Motility Is Compatible With Junctional Integrity". Journal of Cellular Physiology. 211: 327–335. doi:10.1002/jcp.20937. PMID 17167782.
- ↑ Dowland S, Madawala R, Lindsay L, Murphy C (2016). "The adherens junction is lost during normal pregnancy but not during ovarian hyperstimulated pregnancy". Acta Histochemica. 118 (2): 137–143. doi:10.1016/j.acthis.2015.12.004. PMID 26738975.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- MBInfo - Adherens Junction
- MBInfo - Adherens Junction Assembly
- Adherens Junctions ในหอสมุดแพทยศาสตร์แห่งชาติอเมริกัน สำหรับหัวข้อเนื้อหาทางการแพทย์ (MeSH)
- ภาพเนื้อเยื่อจากมหาวิทยาลัยบอสตัน 20502loa (อังกฤษ)