เห็ดหอม เป็นสิ่งมีชีวิตจำพวกเห็ดรา ซึ่งเราสามารถรับประทานได้ นิยมนำมาใช้ประกอบอาหารโดยเฉพาะอาหารจีนและอาหารญี่ปุ่น สามารถนำไปตากแห้งเพื่อให้เก็บไว้ได้นาน

เห็ดหอม
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
โดเมน: ยูแคริโอต
Eukaryota
อาณาจักร: เห็ดรา
Fungi
หมวด: Basidiomycota
Basidiomycota
ชั้น: Agaricomycetes
Agaricomycetes
อันดับ: Agaricales
Agaricales
วงศ์: Omphalotaceae
Omphalotaceae
สกุล: Lentinula
Lentinula
(Berk.) Pegler (1976)
สปีชีส์: Lentinula edodes
ชื่อทวินาม
Lentinula edodes
(Berk.) Pegler (1976)

อนุกรมวิธานและชื่อ

แก้

มีการระบุชื่อวิทยาศาสตร์ของเห็ดราชนิดนี้ครั้งแรกในชื่อ Agaricus edodes โดยไมลส์ โจเซฟ เบิร์กลีย์ใน ค.ศ. 1877[1] ซึ่งเดวิด เพกเลอร์จัดอยู่ในสกุล Lentinula ใน ค.ศ. 1976[2] เห็ดรานี้ได้รับชื่อพ้องในประวัติอนุกรมวิธาน ดังนี้:[3]

  • Agaricus edodes Berk. (1878)
  • Armillaria edodes (Berk.) Sacc. (1887)
  • Mastoleucomychelloes edodes (Berk.) Kuntze (1891)
  • Cortinellus edodes (Berk.) S.Ito & S.Imai (1938)
  • Lentinus edodes (Berk.) Singer (1941)
  • Collybia shiitake J.Schröt. (1886)
  • Lepiota shiitake (J.Schröt.) Nobuj. Tanaka (1889)
  • Cortinellus shiitake (J.Schröt.) Henn. (1899)
  • Tricholoma shiitake (J.Schröt.) Lloyd (1918)
  • Lentinus shiitake (J.Schröt.) Singer (1936)
  • Lentinus tonkinensis Pat. (1890)
  • Lentinus mellianus Lohwag (1918)

ชื่อเห็ดในภาษาญี่ปุ่น (ญี่ปุ่น: 椎茸โรมาจิshiitake) มาจากคำว่า ชิอิ (ญี่ปุ่น: โรมาจิshii, Castanopsis) จากต้น Castanopsis cuspidata ที่มีท่อนไม่ซุงตายที่ปลูกโดยทั่วไป กับ ทาเกะ (ญี่ปุ่น: โรมาจิtake, เห็ด)[4] ส่วนชื่อพฤกษศาสตร์ edodes เป็นศัพท์ภาษาละตินที่แปลว่า "กินได้"[5]

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. Berkeley MJ. (1877). "Enumeration of the fungi collected during the Expedition of H.M.S. 'Challenger', 1874–75. (Third notice)". Botanical Journal of the Linnean Society. 16 (89): 38–54. doi:10.1111/j.1095-8339.1877.tb00170.x.
  2. Pegler D. (1975). "The classification of the genus Lentinus Fr. (Basidiomycota)". Kavaka. 3: 11–20.
  3. "GSD Species Synonymy: Lentinula edodes (Berk.) Pegler". Species Fungorum. CAB International. สืบค้นเมื่อ 2015-03-09.
  4. Wasser S. (2004). "Shiitake (Lentinula edodes)". ใน Coates PM; Blackman M; Cragg GM; White JD; Moss J; Levine MA. (บ.ก.). Encyclopedia of Dietary Supplements. CRC Press. pp. 653–64. ISBN 978-0-8247-5504-1.
  5. Halpern GM. (2007). Healing Mushrooms. Square One Publishers. p. 48. ISBN 978-0-7570-0196-3.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้
  •   วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Lentinula edodes