อิสมาอีลลุตฟี จะปะกียา
รองศาสตราจารย์ อิสมาอีลลุตฟี จะปะกียา อธิการบดีมหาวิทยาลัยฟาฏอนี[1]
อิสมาอีลลุตฟี จะปะกียา | |
---|---|
อธิการบดีมหาวิทยาลัยฟาฏอนี | |
เริ่มดำรงตำแหน่ง 3 ตุลาคม พ.ศ.2556 (ข้อผิดพลาด: แม่แบบ:อายุปีและวัน รองรับเฉพาะปีพุทธศักราช หากใช้เป็นคริสต์ศักราช กรุณาใช้ แม่แบบ:Age in years and days) | |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
อาชีพ | อาจารย์, อธิการบดี |
การศึกษา
แก้- ปริญญาตรี นิติศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) สาขานิติศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยอิสลาม นครมาดีนะฮ์ ประเทศซาอุดีอารเบีย
- ปริญญาโท นิติศาสตร์มหาบัณฑิต สาขานิติศาสตร์เปรียบเทียบ จากมหาวิทยาลัยอิมามมุหัมมัดบินสุอูด นครริยาด ประเทศซาอุดีอารเบีย
- พ.ศ. 2529 ปริญญาเอก นิติศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขานิติศาสตร์เปรียบเทียบ จากมหาวิทยาลัยอิมามมุหัมมัดบินสุอูด นครริยาด ประเทศซาอุดีอารเบีย
วุฒิกิตติมศักดิ์
แก้- พ.ศ. 2549 ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาครุศาสตร์อิสลาม จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์[2]
- พ.ศ. 2555 ศิลปศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาอิสลามศึกษา จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
- พ.ศ. 2558 รางวัลผู้มีคุณูปการต่อการศึกษาชาติ
การทำงาน
แก้- ผู้บริหารโรงเรียนบำรุงอิสลาม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 - ปัจจุบัน
- ตัวแทนกระทรวงสาธารณสมบัติและกิจการอิสลามของประเทศคูเวตประจำประเทศไทย พ.ศ. 2532 - ปัจจุบัน
- สมาชิกสภาสูงสุดเพื่อกิจการมัสยิดโลกเมื่อครั้งการประชุม ณ นครมักกะหฺ พ.ศ. 2532 - 2543
- คณะมนตรีสันนิบาตโลกมุสลิม พ.ศ. 2534 - ปัจจุบัน
- ประธานโครงการจัดตั้งวิทยาลัยอิสลาม พ.ศ. 2539
- อธิการบดีมหาวิทยาอิสลามยะลา เก็บถาวร 2007-11-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน พ.ศ. 2541 - ปัจจุบัน
- ประธานคณะกรรมการที่ปรึกษามูลนิธิเพื่อการอุดมศึกษาเอกชนภาคใต้ ปี พ.ศ. 2546
- รองประธานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวฒิสำนักงานจุฬาราชมนตรี พ.ศ. 2544 - ปัจจุบัน
- คณะกรรมการอิสระเพื่อความสมานฉันท์แห่งชาติปี พ.ศ. 2548
- สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2549
- อะมีรุลฮัจย์ปี พ.ศ. 2550
- อะมีรุลฮัจย์ปี พ.ศ. 2552
- ประธานมูลนิธิมะดีนะตุสสลาม พ.ศ. 2553 - ปัจจุบัน
- ประธานร่วมศาสนาเพื่อสันติภาพ สภาศาสนสัมพันธ์ แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2552 - ปัจจุบัน
- นายกสมาคมนักเรียนเก่าซาอุดิอาระเบียในประเทศไทย พ.ศ. 2564 - ปัจจุบัน
ที่ปรึกษา
แก้- อดีตทีปรึกษาประจำศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2531 - 2544
- ที่ปรึกษาประจำสำนักจุฬาราชมนตรี พ.ศ. 2541 - ปัจจุบัน
- ที่ปรึกษาแม่ทัพภาคที่ 4 พ.ศ. 2542 - 2545
- อดีตที่ปรึกษา พ.ต.ท 43 พ.ศ. 2543
- อดีตที่ปรึกษาสำนักงานการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เขต 2 พ.ศ. 2543
- ที่ปรึกษามูลนิธิส่งเสริมจริยธรรมปัตตานี
- ที่ปรึกษาสมาคมจันทร์เสี้ยวแห่งประเทศไทยปี การแพทย์และสาธารสุข พ.ศ. 2546
- ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการจังหวัดปัตตานีและยะลา
- ที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี (พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ)
- คณะกรรมการที่ปรึกษา กอ.สสส.จชต พ.ศ. 2548
- ที่ปรึกษากองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค 4 ส่วนหน้า
- ที่ปรึกษาศูนย์ปฏิบัติการคดีพิเศษจังหวัดชายแดนภาคใต้
- ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิสํานักงานจุฬาราชมนตรี พ.ศ. 2559 - ปัจจุบัน
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
แก้- พ.ศ. ไม่ปรากฏ – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นที่ 1 ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.)
- พ.ศ. 2550 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นที่ 2 ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.)[3]
อ้างอิง
แก้- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2005-08-25. สืบค้นเมื่อ 2014-01-12.
- ↑ "พิธีพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีการศึกษา 2548". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-01-25. สืบค้นเมื่อ 2014-07-07.
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย เก็บถาวร 2022-05-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๑๘ ข หน้า ๓, ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐