สวามีนารายัณ (Swaminarayan; ไอเอเอสที: Svāmīnārāyaṇa, 3 เมษายน 1781 – 1 มิถุนายน 1830) หรือ สหชานันท์สวามี (Sahajanand Swami) เป็นโยคีและนักพรตที่ซึ่งชีวิตและคำสอนของท่านได้นำไปสู่การปฏิรูปแนวปฏบัติกลางของศาสนาฮินดูคือ ธรรมะ,[2] อหิงสา[3][4] และ พรหมจรรยา.[2] สาวกของท่านเชื่อว่าท่านเป็นอวตารของเทพเจ้า[5][6]

สวามีนารายัณ
ภาพวาดแสดงสวามีนารายัณกำลังเขียนศึกษาปัตรี
ส่วนบุคคล
เกิด
ฆนษยัม ปันเด (Ghanshyam Pande)

3 เมษายน 1781[1]
มรณภาพ1 มิถุนายน ค.ศ. 1830(1830-06-01) (49 ปี)
คธท (ปัจจุบันคือ รัฐคุชราต, ประเทศอินเดีย)
ศาสนาศาสนาฮินดู
ก่อตั้งสวามีนารายัณสัมปรทัย
ตำแหน่งชั้นสูง
ครูสวามี รามานันท์
ที่ประทับManki Ghodi
ชื่ออื่นสหชานันท์สวามี, หฤกฤษณะมหาราช, Nilkanth Varni, สวามีนารายัณภควัน

อ้างอิง แก้

  1. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Williams13
  2. 2.0 2.1 Jones, Lindsay (2005). Encyclopedia of Religion. Farmington Hills: Thomson Gale. p. 8889. ISBN 978-0-02-865984-8.
  3. Williams, Raymond Brady (2001). An introduction to Swaminarayan Hinduism. Cambridge University Press. p. 173. ISBN 978-0-521-65422-7.
  4. Meller, Helen Elizabeth (1994). Patrick Geddes: social evolutionist and city planner. Routledge. p. 159. ISBN 978-0-415-10393-0.
  5. Kim, Hanna (2010-02-19). "Public Engagement and Personal Desires: BAPS Swaminarayan Temples and their Contribution to the Discourses on Religion". International Journal of Hindu Studies (ภาษาอังกฤษ). 13 (3): 357–390. doi:10.1007/s11407-010-9081-4. ISSN 1022-4556.
  6. Jones, Lindsay (2005). Encyclopedia of religion. Detroit : Macmillan Reference USA/Thomson Gale, c2005. pp. 8890. ISBN 978-0028659824.