วัวทะเลทากิกาวะ

วัวทะเลทากิกาวะ (Hydrodamalis spissa) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทางทะเลกินพืช ซึ่งสูญพันธุ์แล้ว อาศัยอยู่ในปลายสมัยไพลโอซีน มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับวัวทะเลชเตลเลอร์ที่เพิ่งสูญพันธุ์ไปไม่นาน (H. gigas) ใน ค.ศ. 1988 มีการค้นพบซากดึกดำบรรพ์ของวัวทะเลในฮกไกโด แต่เดิมถูกจัดว่าเป็นซากของวัวทะเลทากิกาวะ[1] ซึ่งเป็นสปีชีส์ที่เพิ่งมีการอธิบาย แม้ว่านักวิทยาศาสตร์บางคนจะเห็นว่าเป็นชื่อพ้องของวัวทะเลเควสตา (H. cuestae) ก็ตาม ปัจจุบันยังไม่แน่ชัดว่าวัวทะเลทากิกาวะเป็นเพียงพันธุ์พื้นเมืองของวัวทะเลเควสตา หรือเป็นสปีชีส์ที่แยกมาต่างหาก[1][2][3] อย่างไรก็ตาม วัวทะเลทากิกาวะมีความคล้ายคลึงทางสัณฐานวิทยาร่วมกันกับวัวทะเลชเตลเลอร์มากกว่ากับวัวทะเลเควสตา[4]

วัวทะเลทากิกาวะ
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: Late Pliocene 3.6–2.6Ma
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
โดเมน: ยูแคริโอตา
อาณาจักร: สัตว์
ไฟลัม: สัตว์มีแกนสันหลัง
ชั้น: สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
อันดับ: อันดับพะยูน
วงศ์: Dugongidae
สกุล: วัวทะเลชเต็ลเลอร์
Furusawa, 1988
สปีชีส์: Hydrodamalis spissa
ชื่อทวินาม
Hydrodamalis spissa
Furusawa, 1988
ชื่อพ้อง

?†H. cuestae Domning, 1978

ความสัมพันธ์ภายใน Hydrodamalinae
Sirenia

Dusisiren reinharti




Dusisiren jordani




Dusisiren dewana




Dusisiren takasatensis




Hydrodamalis cuestae




Hydrodamalis spissa




Hydrodamalis gigas









ต้นไม้แสดงความสัมพันธ์นี้อาศัยการศึกษาของฮิโตชิ ฟุรุซาวะ[4]

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 Furusawa, Hitoshi (1988). A new species of hydrodamaline Sirenia from Hokkaido, Japan. Takikawa Museum of Art and Natural History. pp. 1–73.
  2. Marsh, Helene; O'Shea, Thomas J.; Reynolds III, John E. (2011). "Steller's sea cow: discovery, biology and exploitation of a relict giant sirenian". Ecology and Conservation of the Sirenia: Dugongs and Manatees. New York: Cambridge University Press. pp. 18–35. ISBN 978-0-521-88828-8.
  3. Furusawa, Hitoshi (1990). "Discovery and significance of the Takikawa sea cow (Hydrodamalis spissa) from Numata-cho, Uryu-gun, Hokkaido, Japan". Earth Science. 44 (4): 224–228.
  4. 4.0 4.1 Furusawa, Hitoshi (2004). "A phylogeny of the North Pacific Sirenia (Dugongidae: Hydrodamalinae) based on a comparative study of endocranial casts". Paleontological Research. 8 (2): 91–98. doi:10.2517/prpsj.8.91.