รายพระนามและรายนามประมุขแห่งรัฐยูกันดา

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

พระมหากษัตริย์ชาวพื้นเมือง (ยุคก่อนอาณานิคม)

แก้

พระมหากษัตริย์บูกันดา

แก้

พระมหากษัตริย์โตโร

แก้

พระมหากษัตริย์บุนโยโร

แก้

พระมหากษัตริย์บูโซกา

แก้

พระมหากษัตริย์อันโกเล

แก้

พระมหากษัตริย์รเวนซูรู

แก้

ยุคหลังอาณานิคม

แก้

นี่คือรายพระนามและรายนามประมุขแห่งรัฐยูกันดาตั้งแต่ได้รับเอกราชในค.ศ. 1962 ถึงปัจจุบัน

สมเด็จพระราชินีนาถ (1962–1963)

แก้

การสืบพระราชสันติวงศ์คล้ายคลึงกับการสืบราชสันติวงศ์อังกฤษ

สมเด็จพระราชินีนาถ รัชสมัย ราชวงศ์ นายกรัฐมนตรี
พระบรมฉายาลักษณ์ พระนาม
(พระราชสมภพ–สวรรคต)
เริ่มรัชกาล สิ้นรัชกาล รวมรัชกาล
1   สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร
(1926–2022)
9 ตุลาคม 1962 9 ตุลาคม 1963 1 ปี วินด์เซอร์ มิลตัน โอโบเต

สาธารณรัฐที่ 1 (1963–1971)

แก้

ตาม รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐยูกันดา ค.ศ. 1963 , สมเด็จพระราชินีนาถถูกแทนที่ด้วยประธานาธิบดีในฐานะประมุขแห่งรัฐโดยพิธีการ ประธานาธิบดีจะถูกเลือกตั้งโดย รัฐสภา มีวาระ 4 ปี ถ้าตำแหน่งเกิดว่างลง นายกรัฐมนตรี จะอยู่ในฐานะ รักษาการประธานาธิบดี

ในค.ศ. 1966 อำนาจของประธานาธิบดีมีเพิ่มมากขึ้น พร้อมกับการจัดตั้งตำแหน่งประธานฝ่ายบริหาร แต่การปกครองเช่นว่านี้ถูกใช้เมื่อตำแหน่งประธานาธิบดีว่างลงเท่านั้น มันยังถูกบังคับใช้ในรัฐธรรมนูญค.ศ. 1967 และ ค.ศ. 1995 ตามลำดับ

Status
  รักษาการประธานาธิบดี
ประธานาธิบดี สมัย สังกัดพรรค
(at time of election)
รูป พระนาม/นาม
(Birth–Death)
เริ่มการดำรงตำแหน่ง สิ้นสุดการดำรงตำแหน่ง รวมระยะเวลา
1   เอ็ดเวิร์ด มูเทสซ่า
(1924–1969)
9 ตุลาคม 1963 2 มีนาคม 1966
(ถูกถอดถอน)
2 ปี, 144 วัน กาบากา เยกกา
2   มิลตัน โอโบเต
(1925–2005)
2 มีนาคม 1966 15 เมษายน 1966 4 ปี, 329 วัน รัฐสภาประชาชนยูกันดา
15 เมษายน 1966 25 มกราคม 1971
(รัฐประหาร)

ยุคเผด็จการ (1971–1979)

แก้

อีดี้ อามิน ก่อการรัฐประหารเพื่อล้มล้างรัฐบาลของมิลตัน โอโบเต ในค.ศ. 1971 อีดี้ อามิน ได้ตำแหน่งประธานาธิบดี ในช่วงว่างตำแหน่ง รองประธานาธิบดีจะรักษาการแทน

สถานะ
  รักษาการประธานาธิบดี
ประมุขแห่งรัฐ สมัย สังกัดพรรค
(at time of election)
รูป นาม
(เกิด–ตาย)
เริ่มการดำรงตำแหน่ง สิ้นสุดการดำรงตำแหน่ง รวมระยะเวลา
3   อีดี้ อามิน
(1925–2003)
25 มกราคม 1971 11 เมษายน 1979
(ถูกถอดถอน)
8 ปี, 76 วัน กองทัพ

สาธารณรัฐที่ 2 (1979–1985)

แก้
สถานะ
  รักษาการประธานาธิบดี
ประธานาธิบดี สมัย พรรคการเมือง
(at time of election)
รูป นาม
(เกิด–ตาย)
เริ่มการดำรงตำแหน่ง สิ้นสุดการดำรงตำแหน่ง รวมระยะเวลา
4   ยูซุฟ ลูเล
(1912–1985)
13 เมษายน 1979 20 มิถุนายน 1979
(Deposed)
70 วัน ไม่สังกัดพรรค (UNLF)
5   กอดฟรีย์ บิไนซา
(1920–2010)
20 มิถุนายน 1979 12 พฤษภาคม 1980
(ถูกถอดถอน)
327 วัน รัฐสภาประชาชนยูกันดา (UNFL)
6   เปาโล มูวังกา
(1921–1991)
12 พฤษภาคม 1980 22 พฤษภาคม 1980
(ลาออก)
10 วัน รัฐสภาประชาชนยูกันดา (UNFL)
ประธานคณะกรรมาธิการ 22 พฤษภาคม 1980 15 ธันวาคม 1980 207 วัน
(2)   มิลตัน โอโบเต
(1925–2005)
17 ธันวาคม 1980 27 กรกฎาคม 1985
(ถูกถอดถอน)
4 ปี, 222 วัน รัฐสภาประชาชนยูกันดา

ยุคกองทัพ (1985–1986)

แก้

นายพล โอลารา-โอเกลโล ก่อการรัฐประหารล้มล้างรัฐบาลของมิลตัน โอโบเต ในค.ศ. 1985 โอลารา-โอเกลโล ได้รับเลือกเป็นประธานาธิบดี ในช่วงที่ตำแหน่งประธานาธิบดีว่างลง รองประธานาธิบดีจะทำหน้าที่รักษาการแทนl

สถานะ
  รักษาการประธานาธิบดี
ประธานาธิบดี สมัย สังกัดพรรค
(at time of election)
รูป นาม
(เกิด–ตาย)
เริ่มการดำรงตำแหน่ง สิ้นสุดการดำรงตำแหน่ง รวมระยะเวลา
7   บาซิลิโอ โอลารา โอเกลโล
(1929–1990)
27 กรกฎาคม 1985 29 กรกฎาคม 1985
(ลาออก)
2 วัน กองทัพ
8   ตีโต้ โอเกลโล
(1914–1996)
29 กรกฎาคม 1985 26 มกราคม 1986
(ถูกถอดถอน)
184 วัน กองทัพ

สาธารณรัฐที่ 3 (1986–ปัจจุบัน)

แก้
สถานะ
  รักษาการประธานาธิบดี
ประธานาธิบดี สมัย สังกัดพรรค
(at time of election)
รูป นาม
(เกิด-ตาย)
เริ่มการดำรงตำแหน่ง สิ้นสุดการดำรงตำแหน่ง รวมระยะเวลา
9   โยเวรี มูเซเวนี
(1944–)
26 มกราคม 1986 ยังอยู่ในตำแหน่ง 38 ปี 302 วัน National Resistance Movement

อดีตพระประมุข

แก้
พระนาม/นาม รัชสมัย/สมัย สถานะ ปีพระราชสมภพ/ปีเกิด ปีเสด็จสวรรคต/ปีเสียชีวิต
สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 1962–1963 สมเด็จพระราชินีนาถแห่งยูกันดา 21 เมษายน ค.ศ. 1926 8 กันยายน ค.ศ. 2022

(96 ปี)

อ้างอิง

แก้