รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลัตเวีย

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศลัตเวียทั้งสิ้น 3 แหล่ง[1]

สถานที่ที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลก แก้

*หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
สถานที่ ภาพ ที่ตั้ง ประเภท พื้นที่
(เฮกตาร์)
ปีขึ้นทะเบียน
(พ.ศ./ค.ศ.)
หมายเหตุ อ้างอิง
ศูนย์กลางประวัติศาสตร์รีกา   รีกา
54°41′12″N 25°17′35″E / 54.68667°N 25.29306°E / 54.68667; 25.29306 (Historic Centre of Riga)
วัฒนธรรม:
(i), (ii)
438.3; พื้นที่กันชน 1,574.2 2540/1997 รีกาเคยเป็นศูนย์กลางของสันนิบาตฮันเซอซึ่งเจริญรุ่งเรืองในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 13 ถึง 15 จากการค้ากับยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก 852[2]
ส่วนโค้งภูมิมาตรศาสตร์ชตรูเวอ
(ร่วมกับนอร์เวย์, เบลารุส, ฟินแลนด์, มอลโดวา, ยูเครน, รัสเซีย, ลิทัวเนีย, สวีเดน และเอสโตเนีย)
  เทศบาลมาดัวนา
และเทศบาลเยกัปปิลส์
56°50′24″N 25°38′12″E / 56.84000°N 25.63667°E / 56.84000; 25.63667 (Struve Geodetic Arc)
วัฒนธรรม:
(ii), (iii), (vi)
2548/2005 1187[3]
เมืองเก่ากุลดีกา   เทศบาลกุลดีกา
56°58′09.6″N 21°58′19.7″E / 56.969333°N 21.972139°E / 56.969333; 21.972139 (Old town of Kuldīga)
วัฒนธรรม:
(v)
84.33; พื้นที่กันชน 88.85 2566/2023 1658[4]

สถานที่ที่ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น แก้

ประเทศลัตเวียมีสถานที่ที่ได้รับขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น (Tentative List) เพื่อพิจารณาเป็นแหล่งมรดกโลกในอนาคตทั้งสิ้น 3 แห่ง[1]

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 "World Heritage Properties in Latvia". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2023.
  2. "Historic Centre of Riga". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 มกราคม 2023.
  3. "Struve Geodetic Arc". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 มกราคม 2023.
  4. "Historic Centre of Riga". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2023.