ราชอาณาจักรเมวาร์

ราชอาณาจักรเมวาร์ หรือ รัฐอุทัยปุระ เป็นราชอาณาจักรเอกราชในภูมิภาคราชปุตนะของอินเดีย ปกครองโดยราชวงศ์สิโสทิยา รัฐตั้งขึ้นในศตวรรษที่เจ็ดเป็นรัฐเล็ก ๆ ในภูมิภาคนาคทา-อาหัร (Nagada-Ahar) ของอุทัยปุระ[7] และต่อมาในศตวรรษที่ 10 ได้เปลี่ยนผ่านสู่การเป็นรัฐเอกราช ภายใต้การนำของราวัล ภรรตฤปัฏฏะ ที่สอง[8] ในปี 1303 อาณาจักรถูกรุกราน ป้อมจิตโตรครห์ซึ่งล้อมนครถูกยึดโดยอะลาอุดดีน ขาลจี และ สายตระกูลราวัล ของราชวงศ์ถูกสังหารหมด[9][10] สายตระกูล รานัส ซึ่งเป็นสายผู้น้อยกว่าของราชวงศ์ สามารถยึดคืนอาณาจักรได้ในปี 1326 และภายใต้การปกครองใหม่นี้ รัฐเมวาร์พัฒนาขึ้นเป็นอาณาจักรที่มีอำนาจมากที่สุดในอินเดียเหนือ เรื่อยมากระทั่งถูกโมกุลรุกรานในปี 1526[11] ราชอาณาจักรภายใต้การนำของอุทัย สิงห์ ที่สอง และ มหารานาปรตาป ต้องอยู่ภายใต้การรบกับโมกุลเรื่อยมาจนกระทั่งจำนนแก่โมกุลในปี 1615 และกลับมามีเอกราชอีกครั้งจากโมกุลหลังจักรพรรดิเอารังเซบสิ้นพระชนม์ในปี 1707[12] ในปี 1818 ราชอาณาจักรยอมเป็นรัฐภายใต้ปกครองของอังกฤษ และในปี 1947 ภุปาล สิงห์ ลงนามในสนธิสัญญาโอนสิทธิ์การปกครองให้กับอินเดีย ส่งผลให้ราชอาณาจักรเป็นส่วนหนึ่งของอินเดียนับจากนั้น[13][14]

รัฐอุทัยปุระ
ราชอาณาจักรเมวาร์

รัฐเมวาร์
ศตวรรษที่ 7–1949
ตราแผ่นดิน
คำขวัญ"พระผู้เป็นเจ้าจะปกป้องผู้ซึ่งยึดถือในความถูกต้อง"
อาณาเขตของเมวาร์ในปี 1909
อาณาเขตของเมวาร์ในปี 1909
เมืองหลวง
ภาษาทั่วไปเมวาร์[4]
ศาสนา
การปกครอง
ประวัติศาสตร์ 
• ก่อตั้ง
ศตวรรษที่ 7
1949
พื้นที่
1901[5]33,030 ตารางกิโลเมตร (12,750 ตารางไมล์)
1941[6]33,517 ตารางกิโลเมตร (12,941 ตารางไมล์)
ประชากร
• 1941[6]
1,926,698

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 1.2 Bhattacharya, A.N. (2000). Human Geography of Mewar. Himanshu Publications. ISBN 9788186231906.
  2. Agarwal, B.D. (1979). Rajasthan District Gazetteers, Udaipur. Jaipur: Directorate of District Gazetteers.
  3. Ram Vallabh Somani 1976, pp. 245.
  4. Ojha, Gaurishankar Hirachand (1990). उदयपुर राज्य का इतिहास [History of Udaipur State]. Rajasthani Granthagar.
  5. Bannerman, A.D. (1902). Census of India 1901, Vol. XXV-A, Rajputana, Part II Imperial Tables (PDF). Newal Kishore Press.
  6. 6.0 6.1 Dashora, Yamunalal. Mewar in 1941 or A Summary of Census Statistics. R.C. Sharma.
  7. Nandini Sinha 1991, p. 64-65.
  8. Ram Vallabh Somani 1976, pp. 50–51.
  9. Satish Chandra (2007). History of Medieval India:800-1700 (ภาษาอังกฤษ). Orient Longman. p. 98. ISBN 978-81-250-3226-7. Alauddin closely invested Chittor. After a valiant resistance by the besieged for several months, Alauddin stormed the fort (1303). The Rajputs performed jauhar and most of the warriors died fighting. Padmini, and the other queens, also sacrificed their lives. But it seems that Ratan Singh was captured alive and kept a prisoner for some time
  10. Rima Hooja 2006, pp. 308: "Amir Khusrau's works have omitted mention of several episodes unpalatable to the Sultan among them the murder of Jalaluddin Khilji by his nephew, Alauddin; Alauddin's defeat at the hands of the Mongols; and the Mongol siege of Delhi. Srivastava also asserts that it would be wrong to say that Jayasi had concocted the entire story of Padmini. He holds that ‘Jayasi wrote out a romance, the plot of which he derived from Amir Khusrau's Khazain-ul-Futuh’, and while conceding that “most of the romantic details of Jayasi's Padmavat are imaginary”, asserts that “the main plot of the story that Padmini was coveted by Alauddin and was shown in a mirror to the lustful Sultan who had her husband arrested, is most probably based on historical truth. He further suggests that the women performed Jauhar after Ratan Singh's arrest and then the Rajputs fell on the invaders and rescued the Rana, but they were cut down to a man, and the fort and the country passed into Alauddin's hands"
  11. V.S Bhatnagar (1974). Life and Times of Sawai Jai Singh, 1688-1743 (ภาษาอังกฤษ). Impex India. p. 6. Mewars grand recovery commended under Lakha and later under kumbha and most notably under Sanga it became one of the greatest power in the northern india in first quarter of 16th century
  12. Chandra 2006, p. 123.
  13. Manoshi, Bhattacharya (2008). The Royal Rajputs. pp. 42–46. ISBN 9788129114013.
  14. Agarwal, B.D. (1979). Rajasthan District Gazetteers: Udaipur. Jaipur: Government of Rajasthan. p. 230.