รอตเทอร์ดามบลิทซ์
การทิ้งระเบิดของเยอรมันที่รอตเทอร์ดาม หรือเป็นที่รู้จักกันว่า รอตเทอร์ดาม บลิตซ์ (การโจมตีสายฟ้าแลบที่รอตเทอร์ดาม) เป็นการทิ้งระเบิดทางอากาศที่รอตเทอร์ดามโดยกองทัพอากาศเยอรมัน ลุฟท์วัฟเฟอ เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1940 ในช่วงเยอรมันได้บุกเข้ายึดครองเนเธอร์แลนด์ในสงครามโลกครั้งที่สอง วัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนแก่ทหารเยอรมันที่กำลังสู้รบในเมือง หยุดยั้งการต่อต้านของชาวดัตซ์และบีบบังคับให้ดัตซ์ยอมจำนน แม้ว่าการเจรจาก่อนหน้านี้ได้ส่งผลให้มีการยุติยิง การทิ้งระเบิดได้เกิดขึ้นอย่างไรก็ไม่ทราบ ในสถาพที่ยังคงมีการถกเถียงกันอยู่และการทำลายล้างในใจกลางเมืองเกือบทั้งหมดที่สุดในประวัติศาสตร์ มีผู้เสียชีวิตเกือบ 900 คน และทำให้คนอื่นๆ 85,000 คนกลายเป็นคนไร้บ้าน
รอตเทอร์ดาม บลิตซ์ | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
เป็นส่วนหนึ่งของ การบุกครองเนเธอร์แลนด์ | |||||||
![]() Rotterdam's city centre after the bombing. The heavily damaged (now restored) St. Lawrence church stands out as the only remaining building reminiscent of Rotterdam's medieval architecture. | |||||||
| |||||||
คู่ขัดแย้ง | |||||||
![]() |
![]() | ||||||
ผู้บัญชาการหรือผู้นำ | |||||||
![]() | |||||||
กองทัพ | |||||||
Luchtvaartafdeling (LVA) Marine Luchtvaartdienst (MLD) |
Luftflotte 2 | ||||||
กำลัง | |||||||
No remaining operational fighter aircraft[1] | ~80 aircraft directly involved ~700 involved in concurrent operations | ||||||
กำลังพลสูญเสีย | |||||||
884 civilians killed LVA and MLD virtually destroyed.[2] |
None |
ด้วยความสำเร็จทางจิตวิทยาและเชิงกายภาพจากการจู่โจม จากมุมมองของเยอรมัน,ภายใต้การนำโดยกองบัญชาการสูงสุดแห่งกองทัพอากาศลุฟท์วัฟเฟอ(Oberkommando der Luftwaffe-OKL) เพื่อข่มขู่ว่าจะทำลายเมืองยูเทรกต์ หากรัฐบาลดัตซ์ไม่ยอมจำนน ดัตซ์ก็ได้ตัดสินใจยอมจำนนในเช้ารุ่งขึ้น
อ้างอิงแก้ไข
- ↑ De luchtverdediging mei 1940, by F.J. Molenaar. The Hague, 1970.
- ↑ Hooton 2007, p. 79.