ยุทธการที่นาร์วา (ค.ศ. 1944)

ยุทธการที่นาร์วา เป็นการทัพทางทหารระหว่างกองทัพเยอรมัน ดีทอาทเมนท์ "นาร์วา" และแนวรบเลนินกราดของโซเวียต การสู้รบเพื่อครอบครองพื้นที่ที่สำคัญทางยุทธศาสตร์ที่นาร์วา อิทชมุส (Narva Isthmus) เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ - 10 สิงหาคม ค.ศ. 1944 ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง

ยุทธการที่นาร์วา
ส่วนหนึ่งของ แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)

ทหารฝ่ายป้องกันของเอสโตเนียที่แม่น้ำนาร์วา,กับป้อมปราการ Ivangorod ที่อยู่ด้านตรงข้าม
วันที่2 กุมภาพันธ์ – 10 สิงหาคม ค.ศ. 1944
สถานที่59°23′N 28°12′E / 59.383°N 28.200°E / 59.383; 28.200
ผล ฝ่ายป้องกันเยอรมันชนะ
คู่สงคราม

นาซีเยอรมนี เยอรมนี

สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
นาซีเยอรมนี Johannes Frießner
นาซีเยอรมนี เฟลิกซ์ ชไตเนอร์
สหภาพโซเวียต เลโอนิด โกโวลอฟ
สหภาพโซเวียต Ivan Fedyuninsky
หน่วยที่เกี่ยวข้อง
  • 2nd Shock Army
  • 8th Army
  • 59th Army
  • 8th Estonian Rifle Corps
  • 14th Rifle Corps
  • กำลัง
    123,541 personnel[1]
    32 tanks[2]
    137 aircraft[1]
    200,000 personnel[2][3]
    2500 guns
    125 tanks[4]
    800 aircraft[1]
    ความสูญเสีย
    14,000 dead or missing
    54,000 wounded or sick
    68,000 casualties[5]
    100,000 dead or missing
    380,000 wounded or sick[nb 1]
    300 tanks
    230 aircraft[2]
    480,000 casualties[5]
    1. Mart Laar in his book Sinimäed 1944: II maailmasõja lahingud Kirde-Eestis has presented an indirect account of Soviet casualties for the battles. According to the data of the Stavka, the total casualties of the Leningrad Front in 1944 were 665,827 men, 145,102 of them dead or missing. The share of the battles around Narva is unknown but considering the length of the operation, Laar accounts roughly half of the documented 56,564 dead or missing and the 170,876 wounded or sick in the Leningrad-Novgorod Offensive for the Battle of Narva. This is in accordance with the estimation of F. Paulman, stating in his Ot Narvy do Syrve that the 2nd Shock Army lost over 30,000 troops at the Narva bridgeheads during February. Deducting the losses in the operations of the Leningrad-Novgorod Offensive conducted elsewhere, the casualties in the battles in Finland and in the Baltic Offensive, Laar totals the numbers of Soviet losses in the Battle of Narva at approximately 100,000 dead or missing and 380,000 wounded or sick. The "cost of nearly 500,000 men" is confirmed in the book Battle in the Baltics 1944–1945 by I. Baxter.

    การทัพครั้งนี้เกิดขึ้นในทางตอนเหนือของแนวรบด้านตะวันออกและประกอบด้วยสองช่วงที่สำคัญ: ยุทธการที่หัวสะพานนาร์วา (กุมภาพันธ์-กรกฎาคม ค.ศ. 1944) และยุทธการที่แนวทันเนนแบร์ก (กรกฎาคม-สิงหาคม ค.ศ. 1944) การรุก Kingisepp–Gdov และการรุกนาร์วาของโซเวียต (15-28 กุมภาพันธ์, 1-4 มีนาคม และ 18-24 มีนาคม) เป็นส่วนหนึ่งของการทัพฤดูหนาวสปริงของกองทัพแดงในปี ค.ศ. 1944 ตามกลยุทธ์ที่เรียกว่า "แนวรบกว้าง" ของโจเซฟ สตาลิน การสู้รบเหล่านี้เกิดขึ้นเวลาเดียวกันกับการรุกนีเปอร์–คาร์เพเทียน (ธันวาคม ค.ศ. 1943 - เมษายน ค.ศ. 1944) และการรุกลวอฟ–ซานโดเมียร์ซ (กรกฎาคม-สิงหาคม ค.ศ. 1944) จำนวนของทหารอาสาสมัครชาวต่างชาติและชาวเอสโตเนียที่อยู่ตามท้องถิ่นได้เข้าร่วมรบเป็นส่วนหนึ่งของกองทัพเยอรมัน โดยให้การสนับสนุนเพื่อเรียกร้องให้เกณฑ์ทหารที่ผิดกฏหมายของเยอรมัน จากขบวนการใต้ดินที่เรียกตัวเองว่า คณะกรรมการแห่งชาติของสาธารณรัฐเอสโตเนีย ได้คาดหวังว่าจะสร้างกองทัพแห่งชาติและฟื้นฟูความเป็นเอกราชของประเทศ

    ผลสืบเนื่องจากการรุกเลนินกราด–นอฟโกรอดของเดือนมกราคม ค.ศ. 1944 ปฏิบัติการเอสโตเนียของโซเวียตได้เริ่มผลักดันแนวรบตะวันตกไปยังแม่น้ำนาร์วา ด้วยความมุ่งหมายทำลายกองทัพ"นาร์วา" และผลักดันลึกเข้าไปในเอสโตเนีย หน่วยทหารของโซเวียตได้สร้างหัวสะพานหลายแห่งบนฝั่งตะวันตกของแม่น้ำในเดือนกุมภาพันธ์ ในขณะที่เยอรมันพยายามที่จะรักษาหัวสะพานบนฝั่งตะวันออก ตามที่ความพยายามกลับล้มเหลวในการขยายแนวหน้าของพวกเขา เยอรมันได้โจมตีตอบโต้กลับทำลายหัวสะพานที่ไปทางเหนือของนาร์วาและลดหัวสะพานทางตอนใต้ของเมือง การทำให้คงที่ของแนวรบจนกระทั่งถึงกรกฎาคม ค.ศ. 1944 การรุกนาร์วาของโซเวียต (กรกฎาคม ค.ศ. 1944) ได้นำไปสู่การยึดครองเมืองหลังจากพวกทหารเยอรมันได้ล่าถอยกลับไปเพื่อเตรียมความพร้อมในแนวป้องทันเนนแบร์กในเขา Sinimäed ที่อยู่ระยะทางประมาณ 16 กิโลเมตรจากนาร์วา ในการสู้รบที่ตามที่แนวทันเนนแบร์ก กลุ่มกองทัพเยอรมันได้จัดตั้งขึ้นบนพื้นที่นี้ เป้าหมายทางยุทธศาสตร์หลักของสตาลิน—การเข้ายึดครองเอสโตเนียกลับคืนอย่างรวดเร็วเพื่อใช้เป็นฐานทัพทางอากาศและโจมตีทางทะเลเพื่อปะทะกับฟินแลนด์และการบุกครองปรัสเซียตะวันออก—ยังไม่อาจบรรลุ อันเป็นผลมาจากการป้องกันอย่างแน่นหนาของกองทัพเยอรมัน ความพยายามสงครามของโซเวียตในทะเลบอลติกได้ถูกขัดขวางเป็นเวลา 7 เดือนครึ่ง

    อ้างอิง แก้

    1. 1.0 1.1 1.2 Toomas Hiio (2006). "Combat in Estonia in 1944". ใน Toomas Hiio; Meelis Maripuu; Indrek Paavle (บ.ก.). Estonia 1940–1945: Reports of the Estonian International Commission for the Investigation of Crimes Against Humanity. Tallinn. pp. 1035–1094.
    2. 2.0 2.1 2.2 Mart Laar (2006). Sinimäed 1944: II maailmasõja lahingud Kirde-Eestis (Sinimäed Hills 1944: Battles of World War II in Northeast Estonia) (ภาษาเอสโตเนีย). Tallinn: Varrak.
    3. Hannes Walter. "Estonia in World War II". Mississippi: Historical Text Archive.
    4. F.I.Paulman (1980). "Nachalo osvobozhdeniya Sovetskoy Estoniy". Ot Narvy do Syrve (From Narva to Sõrve) (ภาษารัสเซีย). Tallinn: Eesti Raamat. pp. 7–119.
    5. 5.0 5.1 Doyle, Peter (2013). World War II in Numbers. A & C Black. p. 105. ISBN 9781408188194.