ภาษาทัวเร็ก (อักษรโรมัน: Tuareg, ภาษาอังกฤษ: /ˈtwɑːrɛɡ/}) หรือภาษาทามาเช็ก (Tamasheq, /ˈtæməʃɛk/, Tamajaq, ⵜⴰⵎⴰⵌⴰⵆ Tamahaq) เป็นภาษาที่มีความใกล้ชิดกับภาษาและภาษาย่อยในกลุ่มภาษาเบอร์เบอร์ พูดโดยชาวเบอร์เบอร์ทัวเร็กในมาลี ไนเจอร์ แอลจีเรีย ลิเบีย และ บูร์กินาฟาโซ และมีผู้พูดเล็กน้อยในชาด[2]

ภาษาทัวเร็ก
กลุ่มเชื้อชาติ:ชาวทัวเร็ก
ภูมิภาค:ทะเลทรายสะฮาราและซาเฮล
การจําแนก
ทางภาษาศาสตร์
:
แอโฟรเอชีแอติก
กลุ่มย่อย:
ISO 639-2 / 5:tmh
ISO 639-3:tmh
กลอตโตลอก:tuar1240[1]
{{{mapalt}}}

อักขรวิธี

แก้

ภาษาทัวเร็กอาจเขียนด้วยอักษรทิฟินาคโบราณ (ลิเบีย-เบอร์เบอร์), อักษรละติน หรืออักษรอาหรับ ระบบ DNAFLA เป็นระบบมาตรฐานสำหรับการเขียนด้วยอักษรละตินในมาลีและบูร์กินาฟาโซ ในขณะที่ในไนเจอร์มีระบบที่ต่างออกไป มีความผันแปรในการใช้อักษรอาหรับและอักษรทิฟินาค[3]

อักษรทิฟินาคมีการใช้ที่จำกัด ใช้ในการเขียนมนต์คาถาลงบนใบปาล์ม และใช้ในการเขียนข้อความ[4] อักษรอาหรับส่วนใหญ่ใช้งานโดยชาวเผ่าที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ศาสนาอิสลาม และไม่ค่อยมีใครทราบถึงขนบธรรมเนียมในเรื่องนี้[5]

ตัวแทนอักษรสำหรับภาษาทัวเร็ก[6][7][8][9]
DNAFLA
(มาลี)[10]
ไนเจอร์[11] อักษรทิฟินาค อักษรทิฟินาค (ยูนิโคด) อักษรเปอร์เซีย-อาหรับ
a a
â
ă ă
ǝ ǝ
b b   ب
(ḅ)
c
d d   د
  ض
e e
ê
f f   ف
g g   گ ݣ
i i
î
j j   چ
ǰ
ɣ ɣ   غ
h h   ه
k k   ک
l l   ل
m m   م
n n   ن
ŋ ŋ
o o
ô
q q     ⵆ, ⵈ ق
r r   ر
s s   س
  ص
š (ʃ) š   ش
t t   ت
  ط
u u
û
w w   و
x x   خ
y y     ⵢ, ⵉ ي
z z     ⵌ, ⵣ ز
  ظ
ž (ʒ) ǧ   ج
  ح
(ʕ)   ع

ระบบ DNAFLA ไม่แสดงสระเสียงสั้นที่เริ่มต้นคำ แต่ใช้เครื่องหมาย < dd⟩ (เช่น ⟨Tămašăɣt⟩ สำหรับ [tămašăq])[12]

ในบูร์กินาฟาโซมีแนวโน้มจะใช้อักษรห่วงแบบที่ใช้เขียน ภาษาฟูลา เช่น ⟨ɗ ƭ⟩[13]

อ้างอิง

แก้
  1. Nordhoff, Sebastian; Hammarström, Harald; Forkel, Robert; Haspelmath, Martin, บ.ก. (2013). "Tuareg". Glottolog 2.2. Leipzig: Max Planck Institute for Evolutionary Anthropology.
  2. Monique Jay, “Quelques éléments sur les Kinnin d’Abbéché (Tchad)". Études et Documents Berbères 14 (1996), 199-212 (ISSN 0295-5245 ISBN 2-85744-972-0).
  3. Sudlow (2001:33–36)
  4. Penchoen, Thomas G. (1973). Tamazight of the Ayt Ndhir. Los Angeles: Undena Publications. p. 3.
  5. "Orthography in a plurigraphic society: the case of Tuareg in Niger (https://www.narcis.nl)". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-05-03. สืบค้นเมื่อ 2012-04-20.
  6. Sudlow (2001:28, 35–36)
  7. Ridouane Ziri, Rachid. "Les différents systèmes d'écriture amazighe" (ภาษาฝรั่งเศส). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-07-15. สืบค้นเมื่อ August 19, 2012.
  8. Bizari, Brahim. "Ecriture amazigh" (ภาษาฝรั่งเศส). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 5, 2001. สืบค้นเมื่อ August 19, 2012.
  9. Fukui, Yusuf Yoshinori; Walett Mahmoud, Khadijatou. "Alphabets of Tamashek in Mali: Alphabetization and Tifinagh". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 1, 2004. สืบค้นเมื่อ August 18, 2012.
  10. Osborn, Don (2002). "Base extended-Latin characters and combinations for languages of Mali". สืบค้นเมื่อ August 18, 2012.
  11. Enguehard, Chantal (2007). "alphabet tamajaq (arrété 214-99 de la République du Niger)" (ภาษาฝรั่งเศส). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-07-11. สืบค้นเมื่อ August 19, 2012.
  12. Sudlow (2001:34)
  13. Sudlow (2001:33)

บรรณานุกรม

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้