ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แยกคอกวัว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 24:
ในบริเวณแยกคอกวัวยังเคยเป็นที่ตั้งของอาคารสำนักงานสำคัญ ๆ หลายแห่งด้วยกัน เช่น [[ธนาคารออมสิน]] สำนักงานใหญ่ (ปัจจุบันย้ายอยู่บริเวณริม[[ถนนพหลโยธิน]] ใกล้[[แยกสะพานควาย]]) นอกจากนี้ยังเคยเป็นที่ทำการของสถานีวิทยุ ททท. [[อสมท | บริษัทไทยโทรทัศน์]] ซึ่งต่อมาได้เกิดเพลิงไหม้ใน[[เหตุการณ์ 14 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2516]] จึงถูกรื้อทำลายอาคารทั้งหมด ปล่อยว่างอยู่นาน กระทั่งได้สร้าง[[อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา|อนุสาวรีย์สถาน]] ทางฝั่งถนนตะนาวที่มุ่งหน้าไปยังย่านบางลำพู ดังปรากฏโดดเด่นอยู่ในปัจจุบันนี้
 
แยกคอกวัวนับเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญจุดหนึ่งของมวลชนที่จะรวมตัวเดินขบวนประท้วงในภาวะวิกฤตทางสังคมการเมืองของไทย (นอกจากอยู่ใกล้กับ[[สนามหลวง]]และ[[อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย]]) ปรากฏในหลายช่วงของประวัติศาสตร์ ทั้งในปี [[เหตุการณ์ 14 ตุลา|พ.ศ. 2516]], [[เหตุการณ์ 6 ตุลา|พ.ศ. 2519]], [[พฤษภาทมิฬ|พ.ศ. 2535]], [[การประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง|พ.ศ. 2549]], [[การชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551|พ.ศ. 2551]], [[การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน พ.ศ. 2553|พ.ศ. 2553]], และ[[วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557|พ.ศ. 2556–57]]<ref>{{cite web|url=https://www.youtube.com/watch?v=H-ZG-UemVIY|title=ข่าวศิลปะ บันเทิง - สี่แยกคอกวัว ถนนตีทอง|date=2013-10-21|work=[[ไทยพีบีเอส]]}}</ref> และ [[การประท้วงในประเทศไทย พ.ศ. 2563–2564|พ.ศ. 2563–2564]]
 
==อ้างอิง==