ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กินทามะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
วณิพก (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 151:
แม้ว่าเนื้อเรื่องส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องจบเป็นตอน ๆ แต่ก็มีพัฒนาการของเนื้อเรื่องในเนื้อเรื่องบางภาคและตัวละครปฏิปักษ์ที่กลับมาซ้ำ<ref name="annrightturn">{{cite news|url=http://www.animenewsnetwork.com/right-turn-only/2009-05-12|title=RIGHT TURN ONLY!! Gin and Juice|work=[[Anime News Network]]|date=May 12, 2009|author=Santos, Carlo|access-date=August 3, 2009}}</ref> ตัวอย่างเช่นอดีตสหายของกินโทกิชื่อ[[ทากาสุงิ ชินสุเกะ]]ผู้ถือว่ากินโทกิและอดีตสหายคนอื่นคือศัตรูและหาทางจะทำลายรัฐบาลโชกุน ในเวลาต่อมาทากาสุงิได้พันธมิตรอันได้แก่ [[คามุอิ]]พี่ชายของคางุระ และหน่วยรบชั้นสูงมิมาวาริงุมิ เพื่อเตรียมก่อการรัฐประหารครั้งใหญ่ ภายหลังเมื่อปฏิปักษ์ที่แท้จริงคืออุซึโร่ผู้เป็นอมตะปรากฏตัว กินโทกิจึงร่วมกับทั้งสหายและศัตรูในการยับยั้งอุซึโร่ไม่ให้ทำลายโลก
 
== ลักษณะแนวและรูปแบบการดำเนินเรื่อง ==
จุดเน้นหลักของฮิเดอากิ โซราจิในการเขียน''กินทามะ''คือการใช้มุกตลก ต่อมาระหว่างการเขียนมังงะเป็นปีที่ 2 ได้เริ่มเพิ่มความเป็น[[นาฏกรรม]]ในเนื้อเรื่องโดยยังคงความตลกขบขันไว้.<ref name="vol6pg26">{{cite book|last= โซราจิ|first= ฮิเดอากิ|title= กินทามะ เล่ม 6|year= 2548|publisher= [[สยามอินเตอร์คอมิกส์]]|isbn= 978-4-08-873781-2|page=26}}</ref> มุกตลกหลายครั้งในมังงะเป็นเสียดสี[[สำนวนจำเจ|ภาพจำเจ]]จากซีรีส์มังงะแนว''[[โชเน็ง]]''เรื่องอื่น ๆ ยกตัวอย่างเช่น ในตอนแรกสุด หลังจากกินโทกิต่อสู้กับกลุ่มชาวสวรรค์เพื่อปกป้องชินปาจิและทาเอะ ชินปาจิบ่นว่ากินโทกิสู้ได้เพียง "หน้าเดียว" เอง กินโทกิจึงตอบว่า "เจ้าบ้า สำหรับคนเขียนการ์ตูนแล้วหน้าเดียวนี่ก็เสียเวลาวาดนะเฟ้ย!!" ในฉากที่กินโกทิอยากอ่านนิตยสาร''[[โชเน็งจัมป์รายสัปดาห์]]'' (ในมังงะฉบับภาษาไทยแปลงเป็นนิตยสาร''[[ซีคิดส์]]'') อย่างจริงจังเกินจริง (ที่ถึงขั้นทำให้เขาต้องต่อสู้กับผู้อ่านคนอื่นเพื่อแย่งชิงมาอ่าน) ก็มีการพูดล้อเลียนซีรีส์มังงะแนว''โชเน็ง''เช่นกัน<ref name="aboutreviews">{{cite web|url=http://manga.about.com/od/vizmedia/gr/GinTama1.htm|title=Gin Tama, volume 1 by Hideaki Sorachi|publisher=[[About.com]]|author=Aoki, Deb|access-date=July 11, 2009|archive-url=https://web.archive.org/web/20090208191934/http://manga.about.com/od/vizmedia/gr/GinTama1.htm|archive-date=February 8, 2009|url-status=dead}}</ref><ref>{{cite news|url=http://www.animenewsnetwork.com/right-turn-only/2008-07-08|title=RIGHT TURN ONLY!! Strange Times|work=[[Anime News Network]]|date=July 8, 2008|author=Santos, Carlo|access-date=July 8, 2009}}</ref> สถานการณ์ตลกขบขันอื่น ๆ มีความเฉพาะตัว ซึ่งผู้อ่านต้องรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมญี่ปุ่นจึงจะสามารถเข้าใจมุกตลกได้<ref name="ginann">{{cite news|url=http://www.animenewsnetwork.com/review/gintama/gn-5|title=Gin Tama, vol. 5 review|date=April 4, 2008|work=[[Anime News Network]]|author=Santos, Carlo|access-date= July 11, 2009}}</ref>
ลักษณะการดำเนินเรื่องหลักคือการใช้มุกตลกในการดำเนินเรื่อง ต่อมาเมื่อฮิเดอากิเขียนการ์ตูนกินทามะเป็นปีที่สอง เขาเริ่มใส่ความเป็น[[ดรามา]]ลงในการ์ตูนกินทามะ โดยคงความเป็นการ์ตูนตลกไว้ มุกตลกส่วนมากในเรื่องมีลักษณะล้อเลียนวัฒนธรรม ตัวละคร วิดีโอเกม หรือการ์ตูนเรื่องอื่น
 
เนื้อเรื่องของกินทามะส่วนใหญ่จะจบในตอน แต่ก็มีเนื้อเรื่องบางช่วงจะมีเรื่องราวต่อเนื่องไปหลายตอน ซึ่งมักจะเน้นความเป็นดราม่าและแอ็กชัน เช่น ภาคการกำเนิดดาบเบนิซากุระ ซึ่งมีความยาวตั้งแต่เล่มที่ 11 ไปจนถึงเกือบครึ่งเล่ม 12 เลยทีเดียว ซึ่งภาคนี้ถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์กินทามะเรื่องแรกในชื่อ ''กินทามะ เดอะมูฟวี่ กำเนิดใหม่ดาบเบนิซากุระ'' ({{ญี่ปุ่น|劇場版 銀魂 新訳紅桜篇|เงะคิโจบัง งิงทะมะ ชิงยะคุเบะนิซะคุระเฮ็ง|}}) โดยมีตัวละครใหม่เพิ่มขึ้นมา และยังได้สอดแทรกอดีตของพวกกินโทกิในสมัยเด็กไว้เล็กน้อยด้วย
 
== ประวัติการสร้าง ==