ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปรัชญา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12:
 
ในปัจจุบัน โดยทั่วไปถือว่าปรัชญาประกอบด้วยสาขาย่อยหลักทางวิชาการได้แก่ [[อภิปรัชญา]] ซึ่งศึกษาธรรมชาติพื้นฐานของ[[existence|การดำรงอยู่]] และ [[reality|ความเป็นจริง]], [[epistemology|ญาณวิทยา]] ซึ่งศึกษาธรรมชาติของ[[ความรู้]] และ [[ความเชื่อ]], [[จริยศาสตร์]] ซึ่งศึกษา[[Value (ethics)|คุณค่าทางศีลธรรม]] และ [[ตรรกศาสตร์]] ซึ่งศึกษา[[rules of inference|กฎเกณฑ์ของการให้เหตุผล]]เพื่อสร้าง[[Consequent|ข้อสรุป]]จาก[[ความจริง]]<ref>{{Cite web|title=Metaphysics|url=http://www.merriam-webster.com/dictionary/metaphysics|website=Merriam-Webster Dictionary|access-date=8 May 2020|archive-date=8 May 2020|archive-url=https://web.archive.org/web/20200508023629/https://www.merriam-webster.com/dictionary/metaphysics|url-status=live}}</ref><ref>{{Cite web|title=Epistemology|url=http://www.merriam-webster.com/dictionary/epistemology|website=Merriam-Webster Dictionary|access-date=8 May 2020|archive-date=8 May 2020|archive-url=https://web.archive.org/web/20200508005525/https://www.merriam-webster.com/dictionary/epistemology|url-status=live}}</ref> สาขาย่อยอื่น ๆ ที่เป็นที่รู้จักของปรัชญา เช่น [[philosophy of science|ปรัชญาวิทยาศาสตร์]], [[political philosophy|ปรัชญาการเมือง]], [[aesthetics|สุนทรียศาสตร์]], [[philosophy of language|ปรัชญาภาษา]] และ [[philosophy of mind|ปรัชญาความคิด]] เป็นต้น
 
== แขนงของปรัชญา ==
 
ปัญหาทางปรัชญาอาจจัดกลุ่มรวมกันเป็นแขนงต่าง ๆ ได้ เพื่อให้นักปรัชญาสามารถมุ่งสนใจหัวข้อใกล้เคียงกัน และมีปฏิสัมพันธ์กับนักคิดคนอื่นที่สนใจในปัญหาทำนองเดียวกัน
 
การแบ่งอาจมีได้มากกว่ารายการข้างล่างนี้ และแต่ละแขนงอาจไม่ได้แยกออกจากกันอย่างสิ้นเชิง ปัญหาทางปรัชญาเหล่านี้บางทีก็ซ้อนทับกันหลายแขนงปรัชญา และบางทีก็ซ้อนทับกับวิชาและความคิดอื่น เช่น วิทยาศาสตร์ ศาสนาหรือคณิตศาสตร์
 
=== สุนทรียศาสตร์ ===
 
สุนทรียศาสตร์คือ "การสะท้อนเชิงวิพากษ์ต่อศาสนา วัฒนธรรมและธรรมชาติ" แขนงนี้ว่าด้วยสภาพของศิลปะ ความงาม รสนิยม ความพึงพอใจ คุณค่าทางอารมณ์ การรับรู้ ตลอดจนการสร้างสรรค์และการชื่นชมความงาม หรือหากนิยามให้แม่นยำกว่านั้น คือ การศึกษาคุณค่าของประสาทสัมผัสหรือประสาทสัมผัสและอารมณ์ ส่วนใหญ่แบ่งได้เป็นทฤษฎีศิลปะ ทฤษฎีภาพยนตร์ หรือทฤษฎีดนตรี
 
=== จริยศาสตร์ ===
 
จริยศาสตร์ หรือเรียก ปรัชญาศีลธรรม เป็นการศึกษาความประพฤติที่ดีและเลว ค่านิยมที่ถูกต้องและผิด และความดีกับความชั่วร้าย โดยหลักสนใจศึกษาวิธีการดำรงชีวิตที่ดีและการบอกมาตรฐานศีลธรรม นอกจากนี้ยังสนใจว่ามีวิธีดำรงชีวิตที่ดีที่สุด หรือมีมาตรฐานศีลธรรมเป็นสากลหรือไม่ และถ้ามี มนุษย์จะเรียนรู้เกี่ยวกับมันได้อย่างไร
 
== เชิงอรรถ ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ปรัชญา"