ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ท่าเรือ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งต้องการอ้างอิงด้วยสจห.
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
 
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง|date=มกราคม 2565}}
{{ความหมายอื่น|||ท่าเรือ (แก้ความกำกวม)}}
[[File:Line0535.jpg|thumb|right|[[ท่าเรือซีแอตเทิล]]]]
'''ท่าเรือ''' เป็นสิ่งอำนวยความสะดวกพาณิชย์ทางทะเลซึ่งอาจมี[[ท่าเทียบเรือ]]ตั้งแต่หนึ่งแห่งขึ้นไปที่เรือสามารถเทียบเพื่อบรรจุและปล่อยผู้โดยสารและสินค้า ปกติท่าเรือตั้งอยู่ที่ชายฝั่งทะเลหรือ[[ชะวากทะเล]] แต่ท่าเรือบางแห่ง เช่น [[ฮัมบวร์ค]]หรือ[[แมนเชสเตอร์]] ตั้งอยู่ลึกเข้าไปในแผ่นดิน ซึ่งเรือจากทะเลสามารถเข้าถึงได้โดยทางแม่น้ำหรือคลอง เนื่องจากท่าเรือทำหน้าที่เป็น[[ท่าขาเข้า]]ของผู้อพยพกับทหารในช่วงสงคราม ทำให้ท่าเรือหลายแห่งมีการเปลี่ยนแปลงทางเชื้อชาติและวัฒนธรรมอย่างมากตลอดทั้งประวัติศาสตร์<ref>{{Cite book|title=Encyclopedia of the City|url=https://archive.org/details/encyclopediacity00cave|url-access=limited|last=Caves|first=R. W.|publisher=Routledge|year=2004|isbn=9780415252256|pages=[https://archive.org/details/encyclopediacity00cave/page/n568 528]}}</ref>
ปัจจุบัน การพัฒนาท่าเรือที่เติบโตเร็วสุดอยู่ในทวีปเอเชีย ซึ่งเป็นทวีปที่มีท่าเรือใหญ่สุดและวุ่นวายที่สุดของโลกอันดับต้น ๆ เช่น [[สิงคโปร์]] [[เซี่ยงไฮ้]]และ[[Ningbo-Zhoushan|หนิงโป-โจวชาน]]ของจีน
 
ท่าเรือมีส่วนสำคัญต่อเศรษฐกิจโลกอย่างมาก โดยร้อยละ 70 ของการค้าสินค้าทั่วโลกโดยมูลค่าผ่านท่าเรือ<ref name=":1">{{Cite report|url=https://unctad.org/system/files/official-document/ser-rp-2017d18_en.pdf|title=Port Industry Survey on Climate Change Impacts and Adaptation|last1=Asariotis|first1=Regina|last2=Benamara|first2=Hassiba|date=December 2017|publisher=UN Conference on Trade and Development|last3=Mohos-Naray|first3=Viktoria}}</ref> ด้วยเหตุผลนี้ ทำให้ที่อยู่อาศัยบริเวณท่าเรือมักมีประชากรหนาแน่น ซึ่งจัดเตรียมแรงงานไว้ทำงานและจัดการสินค้าและบริการที่เกี่ยวข้องกับท่าเรือ ปัจจุบัน การพัฒนาท่าเรือที่เติบโตเร็วสุดอยู่ในทวีปเอเชีย ซึ่งเป็นทวีปที่มีท่าเรือใหญ่สุดและวุ่นวายที่สุดของโลกอันดับต้น ๆ เช่น [[ท่าเรือสิงคโปร์|สิงคโปร์]] [[ท่าเรือเซี่ยงไฮ้|เซี่ยงไฮ้]]และ[[ท่าเรือหนิงโป-โจวชาน|หนิงโป-โจวชาน]]ของจีน ใน ค.ศ. 2020 ท่าเรือที่วุ่นวายที่สุดในโลกคือ[[ท่าเรือเฮลซิงกิ]]ใน[[ประเทศฟินแลนด์]]<ref>{{cite web|url=https://ec.europa.eu/eurostat/statistics-explained/pdfscache/6652.pdf|title=Maritime ports freight and passenger statistics|publisher=[[Eurostat]]|access-date=18 June 2020}}</ref> ถึงกระนั้น มีท่าเรือขนาดเล็กจำนวนมากที่มีไว้เพื่อการท่องเที่ยวท้องถิ่นหรืออุตสาหกรรมปลา
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[ท่าเรือบก]] (Dry port)
 
==อ้างอิง==
{{reflist}}
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{commons category|Ports and harbours}}
*[http://www.aapa-ports.org/Industry/content.cfm?ItemNumber=900&navItemNumber=551 Port Industry Statistics, American Association of Port Authorities]
*[http://www.noonsite.com/Countries Information on yachting facilities at ports around the world from Noonsite.com]
*[http://www.ncdc.noaa.gov/oa/esb/?goal=commerce&file=obs/marine/ports/ Social & Economic Benefits of PORTS] from "NOAA Socioeconomics" website initiative
* Antunes, Cátia: [http://nbn-resolving.de/urn:nbn:de:0159-2010102547 ''Early Modern Ports, 1500-1750''], [[European History Online]], Mainz: [[Institute of European History]], 2011, retrieved: November 2, 2011.
 
{{Authority control}}
 
[[หมวดหมู่:ท่าเรือ| ]]