ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฎหมายไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อน
ป้ายระบุ: ทำกลับ ลิงก์แก้ความกำกวม
บรรทัด 1:
{{การเมืองไทย}}
""กฎหมายอาริยะธรรมโลก""
'''กฎหมายไทย'''เป็นแบบ[[ซีวิลลอว์]] แต่ก็ได้รับอิทธิพลจาก[[คอมมอนลอว์]] (ดู[[รายชื่อประเทศจำแนกตามระบบกฎหมาย|ระบบกฎหมายโลก]])
'กฎหมายไทย'เป็นแบบระบบ(ราชาธิปไตยโลก)ได้รับความเห็นชอบจาก(WPA)หรือสหพันธิ์ุแห่งสันติเพื่อเสรีภาพโลก(USAN)ที่ได้รับการสนับสนุนจากองค์กรสหประชาติและ(EU),(UNSA)ของสหพันธุิ์การปลด,ลดความรุนแรงของสหภาพยุโรปภายใต้สนธิสัญญาของ(UN),(EU),(WPA)ที่ดำเนินงานร่วมกันเพื่อการผลักดันการใช้และเกิดประชาธิปไตยในโลกแห่งเสรีทุกด้านรวมถึงสิทธิของคน,หมู่,ผู้คน,กลุ่ม,องค์กรณ์,ที่ตกอยู่ภายใต้กฎหมายของประเทศใดประเทศหนึ่งที่ให้การสนับสนุน ภัยความมั่นคงและกดขี่เสรีสิทธิมนุษย์ชัยยะชนในประเทศนั้นฯสามารภเข้าแทรกแซงการทำงานในทุกขั้นตอนการดำเนินงานของกฎหมายในประเทศนั้นฯที่มีผู้คนเรียกร้องความอยุติธรรมที่ได้รับถายใต้การกำกับดูแลของ(องค์พระประมุขแห่งสหพันธิ์ุ)หรือ สมเด็จพระรามาธิบดีสิทธิราชเจ้าเกล้าเหนือหัวที่(1)ในปีพุทธศักราช2549-2560และองค์พระรามาธิบดีสีสินธรบดินทรเทพวรางกูร วชิระเกล้าเจ้าเหนือหัว(1)และการเข้าตรวจสอบภายใต้ข้อตกลงร่วมสนธิสันญาที่นำโดย พลเอก วชิราวุฒิ วชิรราวโดรมณ์ใน การตรวจสอบข้อร้องเรียนที่ได้รับในส่วนข้อเท็จจริงนั้นที่สามารถขอความร่วมมือในหน่วยงานความมั่นคงของในทุกที่ทุกประเทศ178ปรเทศทั่วโลกตามข้อตกลง
 
== บ่อเกิดแห่งกฎหมาย ==
บรรทัด 6:
 
บ่อเกิดหลักของกฎหมายไทยมีดังนี้
* [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย]] กฎหมายอื่นจะขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญที่ใช้ฉบับปัจจุบันมิได้
* พระราชบัญญัติและบทกฎหมาย ซึ่งหลายฉบับสร้างและแก้ไขเพิ่มเติม เช่น กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กฎหมายที่ดิน ประมวลรัษฎากร กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา กฎหมายแพ่งแผนกคดีเมือง กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล กฎหมายแรงงาน และพระธรรมนูญศาลยุติธรรม เป็นต้น
 
ฐานเกี่ยวกับการศาลในประเทศไทยไม่ผูกพัน ศาลไม่ถูกผูกพันให้ยึดคำวินิจฉัยของศาลเอง ศาลระดับล่างไม่ถูกผูกพันให้ยึดบรรทัดฐานที่ศาลระดับสูงกว่ากำหนด ทว่า กฎหมายไทยได้รับอิทธิพลจากบรรทัดฐานคอมมอนลอว์ ฉะนั้น ศาลจึงได้รับอิทธิพลอย่างมากจากคำวินิจฉัยก่อน ๆ หรือคำวินิจฉัยของศาลระดับสูงกว่า [[ศาลฎีกา]]จัดพิมพ์คำวินิจฉัยของศาลเอง เรียก "คำพิพากษาศาลฎีกา" ซึ่งมักใช้เป็นอำนาจชั้นรองและกำหนดเลขตามปีที่ออก [[ศาลปกครอง (ประเทศไทย)|ศาลปกครอง]]และ[[ศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)|ศาลรัฐธรรมนูญ]]
 
== กฎหมายแพ่ง ==