ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัทธิประทับใจใหม่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
..
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 9782561 สร้างโดย 182.232.44.114 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
 
บรรทัด 3:
[[ไฟล์:Signac_-_Portrait_de_Félix_Fénéon.jpg|thumb|260px |ภาพเหมือนของ[[เฟลิกซ์ เฟเนอง]] โดย[[ปอล ซีญัก]] ค.ศ. 1890]]
 
'''ลัทธิประทับใจใหม่'''<ref>ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php] ({{GoogleWebarchive|url=https://web.archive.org/web/20170715173151/http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php |date=2017-07-15 play}}</ref> ({{lang-en|neo-impressionism}}) เป็นคำที่เริ่มใช้โดยนักวิพากษ์ศิลปะชาวฝรั่งเศสชื่อจีีจี้[[เฟลิกซ์ เฟเนอง]] ในปี ค.ศ. 1886 ในการบรรยายขบวนการทาง[[ศิลปะ]]ที่ก่อตั้งขึ้นโดย[[ฌอร์ฌ-ปีแยร์ เซอรา]] (Georges Seurat) งานชิ้นเอกของเซอรา "[[บ่ายวันอาทิตย์บนเกาะลากร็องด์ฌัต]]" เป็นงานชิ้นแรกที่เป็นการเริ่มขบวนการของแนวคิดทางศิลปะดังว่าเมื่อตั้งแสดงเป็นครั้งแรกในนิทรรศการแสดงศิลปะของ[[Société des Artistes Indépendants|สมาคมศิลปินอิสระแห่งปารีส]]<ref name="Hutton 2004">{{cite book | last = Hutton| first = John G. | title = Neo-impressionism and the Search for Solid Ground: Art, Science, and Anarchism in Fin-de-siècle France| publisher= Louisiana State University Press| location= Baton Rouge | year = 2004| isbn = 0-8071-1823-0 }}</ref> ในช่วงเดียวกันนี้เป็นช่วงเริ่มต้นของยุคใหม่ของฝรั่งเศสที่จิตรกรหลายคนพยายามแสวงหาวิธีใหม่ในการแสดงออก ผู้ที่ดำเนินตามลัทธิประทับใจใหม่โดยเฉพาะจะนิยมวาดภาพฉากต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในเมือง และภูมิทัศน์และทิวทัศน์ทะเล จิตรกรลัทธิประทับใจใหม่จะใช้การตีความหมายของเส้นและลายเชิงวิทยาศาสตร์ในการเขียนภาภาพ<ref name = "five"/> จิตรกรกลุ่มนี้มักจะกล่าวถึงเทคนิค[[Pointillism|การผสานจุดสี]]เพราะเป็นลักษณะการเขียนภาพในช่วงแรกของลัทธิประทับใจใหม่
 
==แสงและสี==
ในช่วงแรกของลัทธิประทับใจใหม่ [[ฌอร์ฌ-ปีแยร์ เซอรา]] และผู้ติดตามพยายามพัฒนาลักษณะการเขียนที่มาจากแรงกระตุ้นของอารมณ์ (impulsive) และจากสัญชาตญาณ (intuitive) ของศิลปิน[[ลัทธิประทับใจ]] ศิลปินลัทธิประทับใจใหม่จะใช้การประจุดเพื่อที่จะแสดงถึงความมีระเบียบและความยั่งยืนในการวาดภาพ (organization and permanence)<ref name = "two"> {{cite book | last = Fraquelli| first = Simonetta| last2= Ginex| first2= Giovanna| last3 = Greene| first3= Vivien| last4 = Tosini| first4= Aurora | title = Radical Light: Italy’s divisionist painters, 1891-1910| publisher= National Gallery, [dist. by] Yale University Press| location= London| year = 2008| isbn = 978-1-85709-409-1 }}</ref> เซอราพยายามเพิ่มการสร้างเอกลักษณ์ของขบวนการโดยการพยายามให้คำอธิบายถึงทัศนมิติในเรื่องของแสงและสายตา
 
== อ้างอิง ==
บรรทัด 31:
[[หมวดหมู่:จิตรกรรม]]
 
{{โครงศิลปะ}}
{{.com}}