ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
เอา overview ขึ้นก่อน +ย้ายแล้วกรอบหรือรูปต่างๆ ซ้อนกันเละเทะ
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11:
 
{{TOC limit|3}}
 
== ประวัติศาสตร์และพัฒนาการ ==
=== กำเนิด : "หมิ่นประมาท" และ "อาฆาตมาดร้าย" ===
ในสมัยศักดินา กฎหมายคุ้มครอง "การละเมิด" หลายอย่าง ซึ่งรวมความผิดต่อข้าราชบริพาร สัญลักษณ์ที่เกี่ยวข้องกับพระมหากษัตริย์ และการกระทำความผิดในพระราชวัง ทั้งนี้อาจพิจารณาว่าอาชญากรรมแม้เชิงสัญลักษณ์ก็กระทบกระเทือนถึงโครงสร้างทางสังคมในสมัยศักดินาอย่างใหญ่หลวง<ref name="นพพล"/>{{rp|23–25}} เดิมอยู่ในกฎหมายตราสามดวง, พระราชกำหนดลักษณหมิ่นประมาทด้วยการพูดฤๅเขียนถ้อยคำอันเป็นเท็จออกโฆษนาการ ร.ศ. 118<ref name="ฐนาพงษ์"/>{{rp|211}} และพระราชบัญญัติสมุด เอกสาร และหนังสือพิมพ์ พ.ศ. 2470<ref name="ilawhis">[https://freedom.ilaw.or.th/blog/Historyof112 วิวัฒนาการของ “กฎหมายหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์” ในรอบ 200 ปี ตามบริบทสังคมการเมือง]</ref>
 
กฎหมายความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยที่เก่าแก่ที่สุดอยู่ในกฎหมายหมิ่นประมาทสมัยใหม่ในกฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127 (ปี 2453) มาตรา 97 ซึ่งมุ่งพิทักษ์ชื่อเสียงของพระมหากษัตริย์ ในตอนแรกความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ถือเป็นความผิดต่อรัฐด้วย ในประมวลกฎหมายอาญาสมัยใหม่ฉบับแรกของสยามในปี 2461 แยกแยะระหว่างพระมหากษัตริย์กับรัฐ มีการกำหนดโทษสำหรับผู้แสดงเจตนาร้ายหรือหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ พระราชินี มกุฎราชกุมาร และผู้สำเร็จราชการ มีโทษจำคุกไม่เกิน 7 ปี ปรับไม่เกิน 5,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ส่วนมาตราอื่น ๆ มีทั้งคุ้มครองเจตนาร้ายหรือการหมิ่นประมาทเจ้านายทุกรัชกาล ห้ามการสร้างความไม่จงรักภักดี หรือห้ามชักจูงให้ประชาชนละเมิดพระบรมราชโองการ<ref name="CMU">[https://www.law.cmu.ac.th/law2011/journal/20682.pdf Ramification and Re-Sacralization of the Lese Majesty Law in Thiland]</ref>{{rp|3–4}} ครั้นเมื่อสื่อสิ่งพิมพ์แพร่หลาย มีการเพิ่มโทษในปี 2471 ให้การสนับสนุนหรือสอนลัทธิหรือระบบการเมืองหรือเศรษฐกิจ โดยมีเจตนาให้พระมหากษัตริย์ถูกดูหมิ่นเกลียดชังเป็นความผิด<ref name="CMU"/>{{rp|4}}
 
หลัง[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475]] ตัวกฎหมายความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไม่ได้เปลี่ยนแปลงมากนัก ทั้งนี้เพราะ[[คณะราษฎร]]ประนีประนอมกับพระมหากษัตริย์ และมีการเพิ่มสถานะล่วงละเมิดมิได้ของพระมหากษัตริย์ลงในรัฐธรรมนูญหลังจากนั้นทุกฉบับด้วย อย่างไรก็ดี การบังคับใช้กฎหมายในสมัยนั้นมีข้อยกเว้นสำหรับการแสดงออกโดยสุจริต และความเห็นเชิงวิจารณ์และไม่มีอคติต่อการกระทำของรัฐบาลและเชิงปกครอง<ref name="CMU"/>{{rp|4}} การอภิปรายเกี่ยวกับบทบาทของสถาบันพระมหากษัตริย์ในสมัยนั้นยังคงเสรี สังเกตจากการอภิปรายหัวข้อยืนยันว่าจะมีระบอบการปกครองที่มีพระมหากษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญหรือไม่ หรือควรเปลี่ยนแปลงแก้ไขพระราชอำนาจของกษัตริย์หรือไม่ ของสภาร่างรัฐธรรมนูญในปี 2492 และกรณี [[หยุด แสงอุทัย]] นักวิชาการกล่าวบรรยายออกอากาศวิทยุว่า พระมหากษัตริย์ไม่พึงตรัสพาดพิงปัญหาเรื่องเศรษฐกิจ การเมือง หรือสังคมของประเทศ โดยไม่มีผู้รับสนองพระบรมราชโองการ<ref name="นพพล"/>{{rp|30}}
 
== ขอบเขต ==
เส้น 161 ⟶ 153:
[[ไฟล์:Noto Emoji Pie 1f620.svg|thumb|150px|กรณีฟ้องคดีเพราะไม่ห้ามปรามแชตหมิ่นฯ ทำให้เกิดมีม "กดโกรธ"]]
วันที่ 6 พฤษภาคม 2559 พัฒน์นรี หรือหนึ่งนุช ชาญกิจ มารดาของสิรวิชญ์ เสรีธิวัฒน์ (จ่านิว) แกนนำกลุ่มพลเมืองโต้กลับ ถูกออกหมายจับในความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทย เจ้าหน้าที่ว่ามีหลักฐานเป็นข้อความสนทนาผ่านโปรแกรมแชตเฟซบุ๊กกับแนวร่วมพลเมืองโต้กลับอีกคนหนึ่ง ชื่อ บุรินทร์ อินติน ซึ่งแม้หนึ่งนุชมิได้ตอบโต้ใด ๆ แต่ ทนายจำเลยอ้างว่า ตำรวจชี้แจงว่า การไม่ห้ามปรามหรือว่ากล่าวเข้าข่ายรู้เห็นเป็นใจ ซึ่งถือเป็นความผิดด้วย<ref name="แม่จ่านิว">[http://www.matichon.co.th/news/127850 ‘แม่จ่านิว’ น้ำตานอง นอนห้องขัง ‘จนท.ระดับบิ๊ก’ ค้านประกัน ยกเหตุ’คดีสำคัญ-โทษสูง-หวั่นหนี-กันยุ่งพยาน’]</ref> อัยการทหารสั่งฟ้องคดีในวันที่ 22 กรกฎาคม 2559 ในคำฟ้องระบุว่า เมื่อวันที่ 12 มี.ค. 2559 พัฒน์นรีร่วมกับบุรินทร์ พิมพ์ข้อความสนทนาโต้ตอบกันผ่านเฟซบุ๊ก โดยข้อความที่อัยการเห็นว่ามีเนื้อหาเข้าข่ายความผิดตามมาตรา 112 มาจากบุรินทร์ฝ่ายเดียว แต่อัยการระบุในคำฟ้องว่า การกระทำของพัฒน์นรีและบุรินทร์เป็นไปโดยประการที่น่าจะทำให้พระมหากษัตริย์และองค์รัชทายาทขณะนั้นเสื่อมเสียพระเกียรติ ชื่อเสียง ทรงถูกดูหมิ่นหรือถูกเกลียดชัง<ref>[https://www.tlhr2014.com/?p=3046 อัยการศาลทหารสั่งฟ้องม.112 ‘แม่จ่านิว’ คดีตอบแชท ‘จ้า’]</ref> จากคดีนี้ทำให้เกิดมีมอินเทอร์เน็ตขึ้น เช่น "กดโกรธ", "แสร้งไม่เก็ต"<ref>[https://thematter.co/social/computer-crime-act/87037 กดไลก์ได้ไหม กดโกรธรอดหรือเปล่า? สำรวจความคลุมเครือของ พ.ร.บ.คอมฯ กับยิ่งชีพ อัชฌานนท์]</ref> หรือ "ติเตียน"
 
== ประวัติศาสตร์และพัฒนาการ ==
=== กำเนิด : "หมิ่นประมาท" และ "อาฆาตมาดร้าย" ===
ในสมัยศักดินา กฎหมายคุ้มครอง "การละเมิด" หลายอย่าง ซึ่งรวมความผิดต่อข้าราชบริพาร สัญลักษณ์ที่เกี่ยวข้องกับพระมหากษัตริย์ และการกระทำความผิดในพระราชวัง ทั้งนี้อาจพิจารณาว่าอาชญากรรมแม้เชิงสัญลักษณ์ก็กระทบกระเทือนถึงโครงสร้างทางสังคมในสมัยศักดินาอย่างใหญ่หลวง<ref name="นพพล"/>{{rp|23–25}} เดิมอยู่ในกฎหมายตราสามดวง, พระราชกำหนดลักษณหมิ่นประมาทด้วยการพูดฤๅเขียนถ้อยคำอันเป็นเท็จออกโฆษนาการ ร.ศ. 118<ref name="ฐนาพงษ์"/>{{rp|211}} และพระราชบัญญัติสมุด เอกสาร และหนังสือพิมพ์ พ.ศ. 2470<ref name="ilawhis">[https://freedom.ilaw.or.th/blog/Historyof112 วิวัฒนาการของ “กฎหมายหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์” ในรอบ 200 ปี ตามบริบทสังคมการเมือง]</ref>
 
กฎหมายความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยที่เก่าแก่ที่สุดอยู่ในกฎหมายหมิ่นประมาทสมัยใหม่ในกฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127 (ปี 2453) มาตรา 97 ซึ่งมุ่งพิทักษ์ชื่อเสียงของพระมหากษัตริย์ ในตอนแรกความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ถือเป็นความผิดต่อรัฐด้วย ในประมวลกฎหมายอาญาสมัยใหม่ฉบับแรกของสยามในปี 2461 แยกแยะระหว่างพระมหากษัตริย์กับรัฐ มีการกำหนดโทษสำหรับผู้แสดงเจตนาร้ายหรือหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ พระราชินี มกุฎราชกุมาร และผู้สำเร็จราชการ มีโทษจำคุกไม่เกิน 7 ปี ปรับไม่เกิน 5,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ส่วนมาตราอื่น ๆ มีทั้งคุ้มครองเจตนาร้ายหรือการหมิ่นประมาทเจ้านายทุกรัชกาล ห้ามการสร้างความไม่จงรักภักดี หรือห้ามชักจูงให้ประชาชนละเมิดพระบรมราชโองการ<ref name="CMU">[https://www.law.cmu.ac.th/law2011/journal/20682.pdf Ramification and Re-Sacralization of the Lese Majesty Law in Thiland]</ref>{{rp|3–4}} ครั้นเมื่อสื่อสิ่งพิมพ์แพร่หลาย มีการเพิ่มโทษในปี 2471 ให้การสนับสนุนหรือสอนลัทธิหรือระบบการเมืองหรือเศรษฐกิจ โดยมีเจตนาให้พระมหากษัตริย์ถูกดูหมิ่นเกลียดชังเป็นความผิด<ref name="CMU"/>{{rp|4}}
 
หลัง[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475]] ตัวกฎหมายความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไม่ได้เปลี่ยนแปลงมากนัก ทั้งนี้เพราะ[[คณะราษฎร]]ประนีประนอมกับพระมหากษัตริย์ และมีการเพิ่มสถานะล่วงละเมิดมิได้ของพระมหากษัตริย์ลงในรัฐธรรมนูญหลังจากนั้นทุกฉบับด้วย อย่างไรก็ดี การบังคับใช้กฎหมายในสมัยนั้นมีข้อยกเว้นสำหรับการแสดงออกโดยสุจริต และความเห็นเชิงวิจารณ์และไม่มีอคติต่อการกระทำของรัฐบาลและเชิงปกครอง<ref name="CMU"/>{{rp|4}} การอภิปรายเกี่ยวกับบทบาทของสถาบันพระมหากษัตริย์ในสมัยนั้นยังคงเสรี สังเกตจากการอภิปรายหัวข้อยืนยันว่าจะมีระบอบการปกครองที่มีพระมหากษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญหรือไม่ หรือควรเปลี่ยนแปลงแก้ไขพระราชอำนาจของกษัตริย์หรือไม่ ของสภาร่างรัฐธรรมนูญในปี 2492 และกรณี [[หยุด แสงอุทัย]] นักวิชาการกล่าวบรรยายออกอากาศวิทยุว่า พระมหากษัตริย์ไม่พึงตรัสพาดพิงปัญหาเรื่องเศรษฐกิจ การเมือง หรือสังคมของประเทศ โดยไม่มีผู้รับสนองพระบรมราชโองการ<ref name="นพพล"/>{{rp|30}}
 
=== การแก้ไขกฎหมาย พ.ศ. 2500 : "ดูหมิ่น" ===