ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุทธการที่มอสโก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 48:
 
=== ยุทธการที่เวียซมาและบรืย์อันสค์ ===
{{บทความหลัก|ยุทธการที่บรืย์อันสค์ (ค.ศ. 1941)|}}
{{บทความหลัก|ยุทธการที่บรืย์อันสค์ (ค.ศ. 1941)|}}เยอรมันได้เข้าโจมตีตามแผนที่ได้วางเอาไว้ โดยกลุ่มยานเกราะที่ 4 จะบุกเขาตรงกลางที่แทบจะไร้การต่อต้าน และจากนั้นก็แบ่งกองกำลังเคลื่อนที่เร็วไปทางเหนือเพื่อโอบล้อมเวียซมาด้วยกลุ่มยานเกราะที่ 3 และอีกหน่วยหนึ่งไปทางใต้เพื่อโอบล้อมรอบบรืย์อันสค์ร่วมกับกลุ่มยานเกราะที่ 2 ฝ่ายป้องกันของโซเวียต ซึ่งยังคงอยู่ระหว่างการก่อสร้าง ได้ถูกรุกราน และหัวหอกของกลุ่มยานเกราะที่ 3 ที่ 4 ได้เข้าสมทบกันที่เวียซมา เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม ค.ศ. 1941<ref name="Clark">Clark Chapter 8,"The Start of the Moscow Offensive", p. 156 (diagram)</ref><ref name="GlantzVAB">Glantz, chapter 6, sub-ch. "Viaz'ma and Briansk", pp. 74 ff.</ref> กองทัพโซเวียตทั้งสี่ (ที่ 16 ที่ 19 ที่ 20 ที่ 24 และส่วนหนึ่งของที่ 32) ได้ถูกโอบล้อมอยู่ในวงล้อมขนาดใหญ่ทางตะวันตกของเมือง<ref name="Vasilevsky139">Vasilevsky, p. 139.</ref>
 
{{บทความหลัก|ยุทธการที่บรืย์อันสค์ (ค.ศ. 1941)|}}เยอรมันได้เข้าโจมตีตามแผนที่ได้วางเอาไว้ โดยกลุ่มยานเกราะที่ 4 จะบุกเขาตรงกลางที่แทบจะไร้การต่อต้าน และจากนั้นก็แบ่งกองกำลังเคลื่อนที่เร็วไปทางเหนือเพื่อโอบล้อมเวียซมาด้วยกลุ่มยานเกราะที่ 3 และอีกหน่วยหนึ่งไปทางใต้เพื่อโอบล้อมรอบบรืย์อันสค์ร่วมกับกลุ่มยานเกราะที่ 2 ฝ่ายป้องกันของโซเวียต ซึ่งยังคงอยู่ระหว่างการก่อสร้าง ได้ถูกรุกราน และหัวหอกของกลุ่มยานเกราะที่ 3 ที่ 4 ได้เข้าสมทบกันที่เวียซมา เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม ค.ศ. 1941<ref name="Clark">Clark Chapter 8,"The Start of the Moscow Offensive", p. 156 (diagram)</ref><ref name="GlantzVAB">Glantz, chapter 6, sub-ch. "Viaz'ma and Briansk", pp. 74 ff.</ref> กองทัพโซเวียตทั้งสี่ (ที่ 16 ที่ 19 ที่ 20 ที่ 24 และส่วนหนึ่งของที่ 32) ได้ถูกโอบล้อมอยู่ในวงล้อมขนาดใหญ่ทางตะวันตกของเมือง<ref name="Vasilevsky139">Vasilevsky, p. 139.</ref>
 
[[File:Map Operation Typhoon.jpg|thumb|upright=1.3|left|การรุกของเยอรมันในช่วงปฏิบัติการไต้ฝุ่น]]
 
กองกำลังโซเวียตที่ถูกโอบล้อมยังคงต่อสู้รบต่อไป และแวร์มัคท์ต้องใช้ถึง 28 กองพลในการกำจัดพวกเขา โดยใช้กองกำลังทหารที่สามารถสนับสนุนในการรุกเข้าสู่มอสโก แนวรบตะวันตกและแนวรบกำลังสำรองของโซเวียตที่เหลืออยู่ได้ล่าถ่ายและสร้างแนวป้องกันขึ้นมาใหม่รอบ Mozhaisk<ref name="Vasilevsky139" /> แม้ว่าความสูญเสียจะสูงขึ้น แต่หน่วยกองกำลังทหารบางหน่วยที่ถูกโอบล้อมสามารถหลบหนีออกมาเป็นกลุ่มขนาดเล็ก ตั้งแต่ขนาดหมวดไปจนถึงกองพลปืนไรเฟิลเต็มรูปแบบ<ref name="GlantzVAB" /> การต่อต้านของโซเวียตใกล้กับเวียซมายังให้เวลาแก่กองบัญชาการระดับสูงของโซเวียตในการเสริมกำลังกองทัพทั้งสี่เพื่อปกป้องมอสโก(กองทัพที่ 5 ที่ 16 ที่ 43 และที่ 49) กองพลปืนไรเฟิลทั้งสามและกองพลรถถังสองกองพลได้ถูกโยกย้ายจากไซบีเรียตะวันออกและมีอีกมากที่กำลังตามมา<ref name="Vasilevsky139" />
{{โครง-ส่วน}}
 
ด้วยสภาพอากาศที่เริ่มจะเปลี่ยนแปลง ได้ขัดขวางแก่ทั้งสองฝ่าย เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม หิมะครั้งแรกได้ตกลงมาและละลายอย่างรวดเร็ว ทำให้ถนนและพื้นที่เปิดโล่งกลายสภาพเป็นแอ่งโคลน ซึ่งปรากฎการณ์ครั้งนี้ได้ถูกเรียกกันว่า [[รัสปูติซา]] ในรัสเซีย กลุ่มยานเกราะของเยอรมันได้ชะลอเคลื่อนที่อย่างมาก ทำให้กองกำลังโซเวียตได้ล่าถอยและจัดตั้งกองกำลังใหม่<ref>Guderian, p. 316.</ref><ref>Clark, pp. 165–66.</ref>
 
กองกำลังโซเวียตสามารถโจมตีตอบโต้กลับในบางกรณี ตัวอย่างเช่น กองพลยานเกราะที่ 4 ถูกซุ่มโจมตีโดย Dmitri Leliushenko ซึ่งได้ก่อตั้งกองกำลังขึ้นมาอย่างเร่งรีบอย่าง[[กองทัพน้อยการ์ดปืนไรเฟิลพิเศษที่ 1]] รวมทั้ง[[กองพลน้อยรถถังที่ 4]] ของ Mikhail Katukov ใกล้กับเมือง Mtsensk [[ที-34|รถถังที-34]] ที่ได้ถูกสร้างขึ้นมาใหม่ ๆ ได้ถูกซ่อนตัวอยู่ในป่า ในขณะที่ยานเกราะของเยอรมันได้เคลื่อนที่ผ่านพ้นไป ในขณะที่ทีมของเหล่าทหารราบของโซเวียตได้เข้าโจมตีพวกเขา ยานเกราะโซเวียตได้เข้าโจมตีจากทั้งสองข้างและดุเดือดต่อ[[พันท์เซอร์ 4|รถถังพันเซอร์ 4]] ของเยอรมัน สำหรับแวร์มัคท์ ด้วยความตกใจของความพ่ายแพ้ครั้งนี้อย่างมากจนมีคำสั่งให้ทำการสืบสวนเป็นพิเศษ<ref name="GlantzVAB" /> กูเดรีอันและกองกำลังทหารของเขาได้ค้นพบอย่างน่าตกใจว่า รถถังที-34 ของโซเวียตแทบจะยิงทะลุไม่เข้าโดยปืนใหญ่รถถังเยอรมัน ตามที่นายพลได้เขียนไว้ว่า "รถถังพันเซอร์ 4 ของเราด้วยกระบอกปืนขนาดสั้น 75 มม. สามารถระเบิดทำลายที-34 ได้โดยการยิงเครื่องยนต์จากด้านหลังเท่านั้น" กูเดรีอันยังได้ตั้งข้อสังเกตในอนุทินของเขาว่า "พวกรัสเซียได้เรียนรู้บางสิ่ง"<ref>Guderian, p. 318.</ref><ref>{{cite book|author=David M. Glantz|title=When Titans Clashed|pages=80, 81}}</ref> ในปี ค.ศ. 2012 Niklas Zetterling ได้โต้แย้งความรู้สึกของความพ่ายแพ้ครั้งใหญ่ที่ Mtsensk โดยสังเกตว่ามีเพียงแค่กลุ่มรบจากกองพลยานเกราะที่ 4 ที่ได้เข้าร่วม ในขณะที่ส่วนใหญ่ของกองพลกำลังต่อสู้รบที่อื่น เมื่อทั้งสองฝ่ายได้ถอนตัวออกจากสนามรบภายหลังจากการสู้รบและฝ่ายเยอรมันได้สูญเสียรถถังเพียงหกคันและเสียหายสามคัน สำหรับผู้บัญชาการเยอรมันอย่าง[[เอริช เฮิพเนอร์|เฮิพเนอร์]]และบ็อค ได้ปฏิบัติหน้าที่ที่ไม่สำคัญ ความกังวลหลักของพวกเขาคือการต่อต้านจากภายในวงล้อม ไม่ใช่จากภายนอก{{sfn|Zetterling|Frankson|2012|p=100}}
 
[[File:Wojska niemieckie na froncie moskiewskim (2-882).jpg|thumb|left|ยานเกราะเยอรมันได้เข้ารุกเป็นแถวขบวนบนแนวรบมอสโก ตุลาคม ค.ศ. 1941]]
การโจมตีตอบโต้กลับอื่น ๆทำให้การรุกของเยอรมันล่าช้าลง กองทัพที่ 2 ซึ่งปฏิบัติการทางภาคเหนือของกองกำลังกูเดรีอัน โดยมีเป้าหมายในการโอบล้อมแนวรบบรืย์อันสค์ ซึ่งอยู่ภายใต้แรงกดดันของกองทัพแดงที่แข็งแกร่งด้วยความช่วยเหลือโดยการสนับสนุนทางอากาศ<ref name="Bergström_3">Bergström 2007, p. 91.</ref>
 
ตามที่การประเมินผลของเยอรมันเกี่ยวกับความพ่ายแพ้ของโซเวียตในช่วงแรก จำนวนทหาร 673,000 นายถูกจับกุมโดยแวร์มัคท์ในทั้งวงล้อมเวียซมาและบรืย์อันสค์<ref>Geoffrey Jukes, The Second World War – The Eastern Front 1941–1945, Osprey, 2002, {{ISBN|1-84176-391-8}}, p. 29.</ref> แม้ว่าการวิจัยเมื่อเร็ว ๆ นี้ได้ชี้ให้เห็นว่าน้อยมาก—แต่ยังคงมีขนาดใหญ่โต—ตัวเลขของเชลย 514,000 นาย, ได้ลดทอนความแข็งแกร่งของโซเวียตลงถึง 41%.<ref>Jukes, p. 31.</ref> การสูญเสียบุคลารกร 499,001 นาย(ถาวรและชั่วคราว) ซึ่งถูกคำนวณโดยกองบัญชาการโซเวียต.<ref>Glantz, When Titans Clashed p. 336 n15.</ref> เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม, [[Otto Dietrich]] จาก[[กระทรวงประชาบาลและโฆษณาการ]]ของเยอรมนี, ซึ่งอ้างอิงจากฮิตเลอร์เอง, ได้คาดการณ์ล่วงหน้าในงานแถลงข่าวถึงการทำลายล้างกองทัพที่คอยปกป้องมอสโก.เนื่องจากฮิตเลอร์ไม่เคยโกหกเกี่ยวกับข้อเท็จจริงทางทหารที่เจาะจงและยืนยันพิสูจน์ได้, Dietrich ได้ให้ความมั่นใจแก่นักข่าวต่างชาติว่าการล่มสลายของการต่อต้านโซเวียตทั้งหมดซึ่งอาจจะล่าช้าไปหลายชั่วโมง ขวัญกำลังใจของพลเรือนเยอรมัน—ได้ตกต่ำลงนับตั้งเริ่มต้นของบาร์บาร็อสซา—ซึ่งถูกทำให้ดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด โดยมีข่าวลือว่าทหารจะได้กลับบ้านในช่วงคริสมาสต์และความมั่นคั่งอันยิ่งใหญ่ในอนาคตของ[[เลเบินส์เราม์]]จากทางตะวันออก.<ref name="smith1942">{{cite book | title=Last Train from Berlin | publisher=Knopf | author=Smith, Howard K. | author-link=Howard K. Smith | year=1942 | pages=83–91}}</ref>
 
[[File:Bundesarchiv Bild 183-B15500, Russland, Dorf vor Moskau.jpg|thumb|แอ่งโคลนของ[[รัสปูติซา]] ก่อนถึงมอสโก พฤศจิกายน ค.ศ. 1941]]
อย่างไรก็ตาม การต่อต้านของกองทัพแดงทำให้แวร์มัคท์นั้นล่าช้า เมื่อเยอรมันได้เดินทางมาถึงในการมองเห็นแนว Mozhaisk ทางตะวันตกของมอสโก เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พวกเขาพบแนวป้องกันอื่น ๆ ที่ถูกสร้างขึ้นโดยกองกำลังใหม่ของโซเวียต วันเดียวกัน, เกออร์กี จูคอฟ, ซึ่งถูกเรียกกลับจากแนวรบคาลีนิน เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม ได้มีหน้าที่รับผิดชอบในการป้องกันกรุงมอสโกและร่วมกับแนวรบตะวันตกและกำลังสำรอง โดยมีพันเอก [[อีวาน โคเนฟ]] เป็นรองผู้บัญชาการของเขา.<ref>The Great Soviet Encyclopedia, 3rd Edition (1970–1979). 2010 The Gale Group, Inc.</ref><ref name=GeorgyZhukov>{{Cite book |last=Zhukov |first=Georgy |title=Marshal of Victory, Volume II |publisher=Pen and Sword Books Ltd. |year=1974 |isbn=978-1781592915 |pages=7, 19}}</ref> เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม จูคอฟได้ออกคำสั่งให้รวบรวมกำลังทั้งหมดที่มีอยู่เพื่อเสริมความแข็งแกร่งให้กับแนว Mozhaisk ความเคลื่อนไหวครั้งนี้ได้รับการสนับสนุนจากนายพลวาซีเลฟสกี<ref>Zhukov, tome 2, p. 10.</ref> ลุฟท์วัฟเฟอยังคงควบคุมเหนือน่านฟ้าซึ่งไม่ว่าจะปรากฏอยู่ใด, และกลุ่มเครื่องบินชตูคาและเครื่องบินทิ้งระเบิดได้ออกบิน 537 ครั้ง, ได้ทำลายยานพาหนะบางส่วนจำนวน 440 คันและชื้นส่วนปืนใหญ่ 150 กระบอก.<ref name="Plocher 1968 231">Plocher 1968, p. 231.</ref><ref>Bergström 2007, p. 93</ref>
 
{{anchor|KuibyshevEvacuation}}
เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม, สตาลินได้ออกคำสั่งให้อพยพพรรคคอมมิวนิสต์, เจ้าหน้าที่คณะเสนาธิการทั่วไปและหน่วยงานพลเรือนต่าง ๆ ได้ออกจากมอสโกไปยัง Kuibyshev (ปัจจุบันคือ [[ซามารา (ประเทศรัสเซีย)|ซามารา]]), ทิ้งเหลือแค่เพียงเจ้าหน้าที่จำนวนจำกัดไว้ข้างหลัง. การอพยพทำให้เกิดความหวาดกลัวท่ามกลางชาวมอสโก. วันที่ 16–17 ตุลาคม ประชากรพลเรือนส่วนใหญ่ได้พยายามหลบหนี, มีการห้อมล้อมรถไฟที่มีใช้งานได้และถนนเกิดติดขัดจากเมือง แม้ว่าสิ่งที่จะเกิดขึ้นทั้งหมด สตาลินยังคงอยู่ในเมืองหลวงโซเวียตอย่างเปิดเผยซึ่งทำให้ความหวาดกลัวและความโกลาหลได้สลายไป.<ref name="GlantzVAB"/>
 
== แนวป้องกัน Mozhaisk (13–30 ตุลาคม) ==