ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฎหมายตราสามดวง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนไปใช้ภาพเสรี
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
{{issues|ต้องการอ้างอิง=yes|ปรับภาษา=yes}}
[[File:Kotmonthianban-kotmaitrasamduang.jpg|thumb|310px|สำเนา[[กฎมนเทียรบาล]]ที่จัดแสดงใน[[สภาผู้แทนราษฎรไทย]]]]
 
{{multiple image|caption_align=center|header_align=center
[[ไฟล์:กฎหมายตราสามดวง.jpg|thumb|กฎหมายตราสามดวง]]
| width = 100
[[ไฟล์:ตราสามดวง.jpg|thumb|ตราประจำตำแหน่ง 3 ดวงที่ประทับในกฎหมายตราสามดวง]]
| image1 = Ratchasi (Royal Lion) Seal - transparent, red.svg
| image2 = Khotchasi (Elephant-Headed Lion) Seal - transparent, red.svg
| image3 = Bua Kaeo (Crystal Lotus) Seal - transparent, red.svg
| footer = ตราประจำตำแหน่ง 3 ดวงที่ประทับในกฎหมายตราสามดวง จากซ้ายไปขวา:<br/>ตรามหาดไทย (รูป''[[ราชสีห์]]'') ตรากลาโหม (รูป''[[คชสิงห์]]'') และพระคลัง (รูป''บัวแก้ว'')
}}
'''กฎหมายตราสามดวง''' คือ [[ประมวลกฎหมาย]]ใน[[รัชกาลที่ 1]] เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ชำระกฎหมายเก่าที่มีมาแต่ครั้งโบราณ แล้วรวบรวมขึ้นเมื่อจุลศักราช 1166 ตรงกับ สมุหนายก) 1 ตราพระคชสีห์ (สำหรับตำแหน่งสมุหพระกลาโหม) 1 และตราบัวแก้ว (สำหรับตำแหน่งโกษาธิบดี หมายถึงพระคลัง ซึ่งดูแลรวมทั้งกิจการด้านต่างประเทศ) ไว้ทุกเล่มเก็บไว้ ณ ห้องเครื่องชุดหนึ่ง หอหลวงชุดหนึ่ง และศาลหลวงอีกชุดหนึ่ง
 
กฎหมายตราสามดวงนี้ ได้ใช้อาลักษณ์หลายท่านเขียนขึ้น โดยแยกเป็น “ฉบับหลวง” และ “ฉบับรองทรง” โดยสันนิษฐานว่า สำหรับฉบับหลวง ชุดหนึ่งเป็นสมุดไทย 41 เล่ม เมื่อรวม 3 ชุด จึงมีทั้งสิ้น 123 เล่ม แต่เท่าที่พบ ในปัจจุบันเหลืออยู่เพียง 79 เล่ม โดยเก็บไว้ที่[[กระทรวงยุติธรรม]] 37 เล่ม และที่[[หอสมุดแห่งชาติ]] 41 เล่ม ส่วนอีก 44 เล่ม ไม่ทราบว่าขาดหายไปด้วยประการใด ส่วน ฉบับรองทรง นั้น ก็คือ กฎหมายตราสามดวงที่อาลักษณ์ชุดเดียวกับที่เขียนฉบับหลวง ได้เขียนขึ้น โดยเขียนในเวลาไล่เลี่ยกัน โดยฉบับหลวง เขียนในปีฉลู จ.ศ.1167 ([[พ.ศ. 2348]]) ส่วนฉบับรองทรงเขียนขึ้นในปีเถาะ จ.ศ. 1169 (พ.ศ. 2350) ข้อแตกต่างระหว่าง ฉบับหลวง และฉบับรองทรง ก็คือ ฉบับรองทรงจะไม่มีตราสามดวงประทับไว้ และฉบับหลวงจะมีอาลักษณ์สอบทาน 3 คนส่วนฉบับรองทรงมีอาลักษณ์สอบทานเพียง 2 คน สำหรับกฎหมายตราสามดวง ฉบับรองทรงนี้ ปัจจุบันนี้พบเพียง 18 เล่ม โดยเก็บรักษาไว้ที่ หอสมุดแห่งชาติ 17 เล่มและที่[[พิพิธภัณฑ์อัยการไทย]] สำนักงานอัยการสูงสุด 1 เล่ม
 
<br />
 
== มูลเหตุของการชำระกฎหมายตราสามดวง ==
เส้น 32 ⟶ 35:
# พิมพ์ครั้งแรกในสมัย[[รัชกาลที่ 3]] ปีระกา จุลศักราช 1211 พ.ศ. 2392 [[พระยากระสาปนกิจโกศล]] (โหมด อมาตยกุล) ได้นำตีพิมพ์ไว้เพียงเล่ม 1 ยังไม่จบ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวไม่โปรด กริ้วว่า นำกฎหมายหลวงมาพิมพ์เผยแพร่ จึงยึดไปเผาทำลายเกือบทั้งหมด (อาจมีเหตุผลว่าในสมัยโบราณถือว่าบรรดาความรู้คือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เป็นของหลวงหวงห้าม จะรู้ได้เฉพาะชนชั้นปกครองเท่านั้น)
# พิมพ์ครั้งที่สอง ในสมัย[[รัชกาลที่ 4]] พ.ศ. 2406 [[หมอบรัดเลย์]]ได้ตีพิมพ์จำหน่ายรวม 2 เล่ม เรียกชื่อว่า กฎหมายเมืองไทย 2 เล่ม หรือ กฎหมายหมอบรัดเลย์
# พิมพ์ครั้งที่สาม พิมพ์ก่อนปี [[พ.ศ. 2444]] แต่ไม่ระบุว่าเป็นปี พ.ศ.ใด [[หลวงดำรงธรรมสาร]] ผู้พิพากษาศาลอาญาจัดพิมพ์ขึ้น เรียกชื่อว่า กฎหมายเก่าใหม่
# พิมพ์ครั้งที่สี่ ใน ร.ศ. 120 (พ.ศ. 2444) [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์]] ทรงจัดบทใหม่ อธิบายเหตุผลในหัวข้อกฎหมายให้เข้าใจง่ายขึ้น เพื่อใช้ประโยชน์สำหรับผู้พิพากษา และเป็นคู่มือทนายว่าความเรียกว่ากฎหมายราชบุรี มี 2 เล่ม
# พิมพ์ครั้งที่ห้า พ.ศ. 2473 โรงพิมพ์นิติสาสน์ ได้ถ่ายทำแม่พิมพ์จากสมุดไทย พิมพ์เผยแพร่ไว้ในชุด "ประชุมกฎหมายไทย"
# พิมพ์ครั้งที่หก พ.ศ. 2474 [[ราชบัณฑิตยสภา]]จัดพิมพ์ เฉพาะลักษณ์อาชญาหลวงและลักษณะอาชญาราษฎร์ ในงานพระราชทานเพลิงศพมหาอำมาตย์ตรี พระยาลพะนรินทร์ เรืองศักดิ์
# พิมพ์ครั้งที่เจ็ด ระหว่าง พ.ศ. 2481–2482 [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง]]ได้ให้ [[โรแบร์ แลงกาต์|ร.แลงกาต์]] ดอกเตอร์กฎหมายฝรั่งเศสเป็นผู้ชำระใหม่และจัดพิมพ์เป็นหนังสือ 3 เล่ม เรียกว่า ประมวลกฎหมายรัชกาลที่ 1 จุลศักราช 1166 พิมพ์ตามฉบับหลวงตรา 3 ดวง
# พิมพ์ครั้งที่แปด หลังจากการพิมพ์ครั้งที่เจ็ดเล็กน้อย นายร้อยตำรวจโทเสถียร ลายลักษณ์ ได้พิมพ์บทกฎหมายตราสามดวงในหนังสือ ประชุมกฎหมายประจำศก ซึ่งมีจำนวน 69 เล่ม โดยกฎหมายตราสามดวงอยู่ในเล่มที่ 3 และ 4
# ในยุคปัจจุบันนี้ มีการจัดพิมพ์กฎหมายตราสามดวงอีกสามครั้ง คือ องค์การค้าของคุรุสภา 2 ครั้ง ใน [[พ.ศ. 2505]] และ [[พ.ศ. 2515]] และของกรมศิลปากร 1 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2521 โดยในการพิมพ์ยุคปัจจุบันได้ยึดต้นฉบับของ ร.แลงกาต์ ซึ่งถือว่าสมบูรณ์ที่สุดเป็นบรรทัดฐาน
# ล่าสุดเมื่อปี พ.ศ. 2548 [[สถาบันปรีดี พนมยงค์]] ได้ จัดพิมพ์ กฎหมายตราสามดวง โดยใช้ชื่อหนังสือชุดนี้ว่า "กฎหมายตรา 3 ดวง : ฉบับพิมพ์มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง แก้ไขปรับปรุงใหม่" ซึ่งมี 3 เล่ม ใน 1 ชุด โดยยึดเอา "ประมวลกฎหมายรัชกาลที่ 1 จุลศักราช 1166" ฉบับปี [[พ.ศ. 2481]] เป็นหลัก เพราะ ถือว่าเป็นกฎหมายตราสามดวงฉบับพิมพ์ที่ดีที่สุดแล้ว
 
== การเลิกกฎหมายตราสามดวง ==