ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลวงพงษ์พิบูลย์ (เจ้าพรหม วงศ์พระถาง)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
พีรวงค์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9:
|พระบิดา = เจ้าวงศ์ วงศ์พระถาง
|พระมารดา = เจ้าฟองจันทร์ วงศ์พระถาง
|ชายา =เจ้าแสงมอน รัตนวงศ์ <br> เจ้าสุนันตา วงศ์บุรี
|หม่อม =
|พระโอรส/ธิดา =
บรรทัด 15:
}}
 
'''หลวงพงษ์พิบูลย์ (เจ้าพรหม วงศ์พระถาง)''' มีนามเดิมว่า เจ้าน้อยพรหม วงศ์พระถาง อดีตกรมการพิเศษ[[จังหวัดแพร่]] เป็นบุตรชายในพ่อเจ้าวงศ์ กับแม่เจ้าฟองจันทร์ วงศ์พระถาง สืบเชื้อสายมาจากเจ้าพระถาง[[นครรัฐแพร่|นครแพร่]] และ[[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่|เจ้าผู้ครองนครแพร่]]
 
==ประวัติ==
หลวงพงษ์พิบูลย์ (เจ้าพรหม วงศ์พระถาง) มีนามเดิมว่า เจ้าน้อยพรหม เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2413 เป็นบุตรชายของพ่อเจ้าวงศ์ กับแม่เจ้าฟองจันทร์ วงศ์พระถาง สืบเชื้อสายมาจากเจ้าพระถาง[[นครรัฐแพร่|นครแพร่]] ตำแหน่งปกครองในเค้าสนามหลวงเมืองนครแพร่ มีเจ้าพี่น้องได้แก่ร่วมเจ้าบิดามารดา 6 คน คือ
 
1.หลวงพงษ์พิบูลย์ (#เจ้าน้อยพรหมสวน วงศ์พระถาง สมรสกับเจ้าฟองแก้ว วงศ์พระถาง)
#เจ้าคำเม็ด แก่นหอม (วงศ์พระถาง) สมรสกับ เจ้าหนานตั๋น แก่นหอม (ราชโอรสใน[[เจ้าพิริยเทพวงษ์]])
4.#เจ้าอ่อนกาบแก้ว ขัติยะวราขัติยวรา ภรรยา(วงศ์พระถาง) สมรสกับเจ้าน้อยโข้ ขัติยะวรา
#หลวงพงษ์พิบูลย์ (เจ้าน้อยพรหม วงศ์พระถาง) ถึงแก่อนิจกรรม เมื่อปี พ.ศ. 2479 สิริอายุ 66 ปี
#เจ้าน้อยเสาร์ วงศ์พระถาง สมรสกับเจ้าพลอยแก้ว ใยญาณ (ธิดาพ่อเจ้าจันทร์ ใยญาณ)
#เจ้าคำปิ๋ว ทิพย์วิชัย (วงศ์พระถาง) สมรสกับเจ้าหนานพัฒน์ ทิพย์วิชัย
 
ท่านได้รับดำรงตำแหน่งเป็นกรมการพิเศษ[[จังหวัดแพร่]] เล่ากันว่าท่านเป็นผู้มีความละเอียดถี่ถ้วน มีความมัธยัสถ์ ขยันและเก่งในการทำธุรกิจ ซึ่งก็ทำให้ครอบครัวท่านร่ำรวย และมีชื่อเสียงในสมัยนั้น<ref>คุ้มวงศ์บุรี .ประวัติหลวงพงษ์พิบูลย์</ref>
2.เจ้าคำเกี้ยว วงศ์พระถาง ชายา[[เจ้าอินทร์แปลง เทพวงศ์]]
 
หลวงพงษ์พิบูลย์ (เจ้าน้อยพรหม วงศ์พระถาง) ถึงแก่อนิจกรรม เมื่อปี พ.ศ. 2479 สิริอายุ 66 ปี
3.เจ้าเสาร์ วงศ์พระถาง
 
4.เจ้าอ่อน ขัติยะวรา ภรรยาเจ้าน้อยโข้ ขัติยะวรา
 
ท่านได้รับตำแหน่งเป็นกรมการพิเศษ[[จังหวัดแพร่]] เล่ากันว่าท่านเป็นผู้มีความละเอียดถี่ถ้วน มีความมัธยัสถ์ ขยันและเก่งในการทำธุรกิจ ซึ่งก็ทำให้ครอบครัวท่านร่ำรวย และมีชื่อเสียงในสมัยนั้น<ref>คุ้มวงศ์บุรี .ประวัติหลวงพงษ์พิบูลย์</ref>
 
===ชีวิตครอบครัว===
หลวงพงษ์พิบูลย์ สมรสครั้งแรกกับเจ้าแสงมอน รัตนวงศ์ (ธิดาเจ้าน้อยเสาร์ กับเจ้าเขียว รัตนวงศ์) ไม่มีบุตรด้วยกัน และสมรสครั้งที่ 2 กับเจ้าสุนันตา วงศ์บุรี (ธิดาใน[[พระยาบุรีรัตน์ (น้อยหนู มหายศปัญญา)|เจ้าบุรีรัตน์ (น้อยหนู มหายศปัญญา)]] กับเจ้าคำ มหายศปัญญา (ธิดาบุญธรรมใน[[แม่เจ้าบัวถา มหายศปัญญา]] ชายาองค์แรกใน[[เจ้าพิริยเทพวงษ์]] [[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่|เจ้าผู้ครองนครแพร่]]องค์สุดท้าย) แต่ไม่มีบุตรธิดาด้วยกัน จึงได้รับหลาน 23 คน มาเป็นบุตรบุญธรรม คือ [[เจ้าไข่มุกต์ ประชาศรัยสรเดช]] เจ้าทองด้วง วงศ์บุรี (บุตรธิดาเจ้าคำมูล ทิพย์วิชัย กับเจ้าไข่แก้ว มหายศปัญญา) และนายประจวบ วงศ์บุรี (บุตรชายเจ้าน้อยไฝ ทิพย์วิชัย กับนาง(เจ้า)ศรีพูน หัวเมืองแก้ว)
*[[เจ้าไข่มุกต์ ประชาศรัยสรเดช]]
*เจ้าทองด้วง วงศ์บุรี
บุตรธิดาของเจ้าคำมูล และเจ้าไข่แก้ว ทิพย์วิชัย
 
===ถึงแก่อนิจกรรม===
หลวงพงษ์พิบูลย์ (เจ้าน้อยพรหม วงศ์พระถาง) ถึงแก่อนิจกรรม เมื่อปี พ.ศ. 2479 สิริอายุ 66 ปี
 
==การทำงาน==
หลวงพงษ์พิบูลย์ (เจ้าพรหม วงศ์พระถาง) นอกจากรับราชการแล้ว ท่านยังมีอาชีพในการทำป่าไม้สัมประทานในเขตเมือง[[นครรัฐแพร่|นครแพร่]] โดยสืบทอดจาก[[พระยาบุรีรัตน์ (น้อยหนู มหายศปัญญา)|เจ้าบุรีรัตน์ (น้อยหนู มหายศปัญญา)]] ผู้เป็นพ่อตา
 
===กิจสาธารณะ===