ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าอินทร์แปลง เทพวงศ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
พีรวงค์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15:
| dynasty = [[ราชวงศ์เทพวงศ์]]
}}
'''เจ้าอินทร์แปลง เทพวงศ์''' หรือ<nowiki>''เจ้าอินทร์แปง''</nowiki> เป็นราชโอรสองค์เดียวใน[[เจ้าพิริยเทพวงษ์]] เจ้าผู้ครองนครแพร่ องค์ที่ 22 (องค์สุดท้าย) กับ[[แม่เจ้าบัวไหล]] ราชเทวี หนึ่งในผู้มีสิทธิในตำแหน่ง[[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่|เจ้าผู้ครองนครแพร่]]องค์ถัดไปหากไม่เกิด[[กบฏเงี้ยวเมืองแพร่]]ในปี พ.ศ. 2445<ref>[[เจ้าพิริยเทพวงษ์]] (ทายาท).หมู่บ้าน วัง ฟ่อน</ref>วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2445 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ พระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสงชูโต) ยกกำลังไปปราบ กบฎเงี้ยว ที่เมืองแพร่ ในมณฑลพายัพ
 
ทั้งนี้ในปี 2440 รัชกาลที่ 5 ได้เปลี่ยนการปกครองจากเจ้าผู้ครองนครเป็นเทศาภิบาล ยุบเลิกฐานะเมืองประเทศราช แล้วรวมอำนาจเข้าสู่ส่วนกลาง พร้อมทั้งโปรดเกล้าฯ ให้ พระยาไชยบูรณ์ (ทองอยู่ สุวรรณบาตร) เป็นข้าหลวงปกครองเมืองแพร่เป็นคนแรก เจ้าเมืองแพร่องค์เดิมคือ พระยาพิริยวิไชย จึงสูญเสียอำนาจไปเพราะอำนาจสิทธิ์ขาดตกเป็นของข้าหลวงซึ่งเป็นข้าราชการที่ส่งมาจากส่วนกลาง อีกทั้งยังถูกตัดผลประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจ สร้างความไม่พอใจแก่เจ้าเมืองและเจ้านายบุตรหลานทั้งหลายรวมไปถึงชาวเมืองแพร่เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะเมืองแพร่นั้น เมื่อครั้งปฏิรูปการปกครองในปี 2442 พระยาศรีสหเทพ (เส็ง วิรยศิริ) ได้จัดการอย่างรุนแรงและบีบบังคับยิ่งกว่าเมืองอื่น ๆ
 
วันที่ 24 กรกฎาคม 2445 ชาว “เงี้ยว” (หรือชาวไทใหญ่ ชาติพันธุ์หนึ่งที่อาศัยอยู่ในมณฑลพายัพมาช้านาน) ในเมืองแพร่นำโดย พะกาหม่อง และ สลาโปไชย พร้อมกำลังราว 40-50 นาย ได้ก่อความวุ่นวายขึ้น โดยบุกยึดสถานที่ราชการและปล้นเงินคลังของจังหวัด ตลอดจนปล่อยนักโทษในเรือนจำ ต่อมากำลังเพิ่มเป็นราว 300 นายเพราะชาวเมืองแพร่เข้ามาสนับสนุน สามารถยึดเมืองแพร่ได้ในวันที่ 25 กรกฎาคม จากนั้นก็ไปเชิญเจ้าเมืองแพร่องค์เดิมให้ปกครองบ้านเมืองต่อ และออกตามล่าข้าราชการคนนอกที่เข้ามาปกครองเมืองแพร่ สามารถจับตัวพระยาไชยบูรณ์ได้ในวันที่ 27 กรกฎาคม และบังคับให้คืนเมืองแพร่ แต่พระยาไชยบูรณ์ปฏิเสธจึงถูกสำเร็จโทษพร้อมกับข้าราชการอีกหลายคน
 
ความทราบถึงรัชกาลที่ 5 จึงได้โปรดเกล้า ฯ ให้พระยาสุรศักดิ์มนตรีนำทัพหลวงและกองทัพจากเมืองใกล้เคียงทำการปราบปรามพวกเงี้ยวได้อย่างราบคาบ โดยตั้งค่ายทัพที่บริเวณ “บ้านเด่นทัพชัย”(ต่อมาเปลี่ยนเป็น “ตำบลเด่นชัย” ใน “อำเภอเด่นชัย” ปัจจุบัน) หลังจากเริ่มสอบสวนเอาความในวันที่ 20 สิงหาคม 2445 พบว่าเจ้าเมืองแพร่ เจ้าราชบุตร เจ้าไชยสงคราม มีส่วนสนับสนุนให้กองโจรเงี้ยวก่อการกบฎขึ้น แต่ครั้นจะจับกุมตัวสั่งประหารชีวิต ท่านก็เกรงว่าจะกระทบกระเทือนต่อความสัมพันธ์กับหัวเมืองทางเหนือซึ่งถือเป็นเครือญาติผู้สืบสายราชวงศ์เจ้าเจ็ดตนด้วยกัน จึงปล่อยข่าวลือว่าจะจับกุมตัวเจ้าเมืองแพร่ พระยาพิริยวิไชยจึงหลบหนีออกไป หลังหลบหนีไปได้ 15 วัน เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรีจึงออกคำสั่งถอดเจ้าเมืองแพร่ออกจากตำแหน่งทันที ด้วยถือว่าเป็นการละทิ้งหน้าที่ราชการ พร้อมกับสั่งอายัดทรัพย์เพื่อชดใช้หนี้หลวงที่เจ้าเมืองแพร่ค้างกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ สำหรับคดีความผิดฐานร่วมก่อการกบฎก็เป็นอันต้องระงับโดยปริยาย ไม่มีการรื้อฟื้นขึ้นอีก เจ้าพิริยเทพวงศ์เจ้าเมืองแพร่องค์สุดท้ายต้องลี้ภัยไปใช้ชีวิตในบั้นปลายที่เมืองหลวงพระบาง จนถึงแก่พิราลัย
 
กบฎเงี้ยว ชาวเงี้ยว ชาวไทใหญ่ ประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ไทย
 
==พระประวัติ==
เจ้าอินทร์แปลง เทพวงศ์ หรือ<nowiki>''เจ้าอินทร์แปง''</nowiki> เป็นราชโอรสองค์เดียวใน[[เจ้าพิริยเทพวงษ์]] เจ้าผู้ครองนครแพร่ องค์ที่ 22 กับ[[แม่เจ้าบัวไหล]] ราชเทวี มีพระเชษฐภคินี คือ
* '''เจ้ากาบคำ'''
* '''เจ้าเวียงชื่น'''
เส้น 33 ⟶ 25:
* '''เจ้ายวงแก้ว'''
* '''เจ้าหอมนวล'''
เป็นรัชทายาทหนึ่งในผู้มีสิทธิที่จะได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็น[[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่|เจ้าผู้ครองนครแพร่]]องค์ถัดไปหากไม่เกิดการจาลาจลเงี้ยวปล้นเมืองแพร่ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2445 และเจ้าพิริยเทพวงษ์ต้องลี้ภัยไปอยู่ที่เมือง[[หลวงพระบาง]] [[ประเทศลาว]] และไม่ได้กลับมาอีกเลย จนกระทั่งถึงแก่พิราลัยที่นั่นในปี พ.ศ. 2455 ส่วนแม่เจ้าบัวไหล และเจ้าอินทร์แปลงพร้อมด้วยบุตรหลานองค์อื่น ๆ ได้อพยพไปอยู่[[กรุงเทพมหานคร]] ตามพระบรมราชโองการ ภายใต้การควบคุมดูแลของ[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] เสนาบดีกระทรวงมหาดไทยขณะนั้น เป็นเวลา 4-5 ปี จึงได้รับพระบรมราชานุญาตให้กลับคืนบ้านเมืองได้<ref>ประวัติ[[แม่เจ้าบัวไหล]] . จากเว็บไต์โลกล้านนา</ref> และหลังจากเหตุการณ์เงี้ยวปล้นเมืองแพร่ทางกรุงเทพฯ ก็ได้ยกเลิกตำแหน่งเจ้าผู้ครองนครแพร่นับแต่นั้น
 
เจ้าอินทร์แปลง เทพวงศ์ ถึงแก่อนิจกรรมในปี พ.ศ. 2463 ขณะไปเยี่ยมเจ้าอินทเดช เทพวงศ์ หรือ [[โชติ แพร่พันธุ์]] บุตรชายโอรสคนโตที่อยู่กรุงเทพกรุงเทพฯ และได้จัดพิธีฌาปณกิจ ณ เมรุ[[วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร]] [[กรุงเทพฯ]]
 
==ครอบครัว==
เจ้าอินทร์แปลง เทพวงศ์ ลักลอบได้เสียกับ “'''จ้อย'''” เป็นต้นห้องของหม่อมเฉื่อย พระมารดาของ[[หม่อมเจ้าพูนพิศมัย ดิศกุล]] ขณะไปอยู่[[วังดำรงสถิต]]วรดิศของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ซึ่งได้กำเนิดโอรสคนแรก<ref>ชีวประวัตินักเขียน "ยาขอบ" (นาย[[โชติ แพร่พันธุ์]] .ชมรมนักเขียนต้นฉบับ )</ref> คือ
* เจ้าอินทรเดช เทพวงศ์ หรือ [[โชติ แพร่พันธุ์]] เจ้าของนามปากกา '''ยาขอบ''' สมรสกับจรัส แพร่พันธุ์ มีบุตร 1 คน คือ
# มานะ แพร่พันธุ์
ภายหลังเจ้าอินทร์แปลงกับจ้อยได้เลิกรากัน ต่อมาเจ้าอินทร์แปลงได้รับพระบรมราชานุญาตให้กลับคืนมาอยู่เมืองนครแพร่ และได้เสกสมรสกับ “'''เจ้าคำเกี้ยว วงศ์พระถาง'''” (ธิดาเจ้าวงศ์ กับเจ้าฟองจันทร์ วงศ์พระถาง) แต่ไม่มีโอรส-ธิดาบุตรด้วยกัน ต่อมาได้เสกสมรสอีกครั้งกับ“'''เจ้านางเทพเกษร ณ น่าน'''” (ราชธิดาใน[[พระเจ้าสุริยพงศ์ผริตเดช]] พระเจ้านครน่าน กับแม่เจ้ายอดหล้า) มีโอรสด้วยกัน 2 คน คือ
* เจ้าอินทร์ศร เทพวงศ์ สมรสกับคำป้อ เทพวงศ์ มีธิดา 2 คน คือ
# มาลี ถนอมคุณ (เทพวงศ์)
# มาลัย รูปวิเชตร (เทพวงศ์)
* เจ้าอินทร์ทรงรัศมี เทพวงศ์ สมรสกับอุไร เทพวงศ์ มีบุตร 1 คน คือ
# จงรักษ์ เทพวงศ์ ปัจจุบันคือหลวงพ่อจงรักษ์ วรญาโณ วัดชัยมงคล อ.เมืองแพร่
 
==การทำงาน==
เส้น 62 ⟶ 54:
 
แต่ทว่าผลการเจรจาเป็นอย่างไรไม่มีรายละเอียด เพราะสุดท้ายรัฐบาลก็ไม่ได้อนุญาตให้ทำสัมปทาน<ref>ภาพเก่า เล่าอดีต ตอนที่ 5 เมืองแพร่ เมืองไม้สัก .ชัยวัฒิ ไชยชนะ .ค้นหา 18 กันยายน พ.ศ. 2559</ref>
 
== เหตุจาลาจลเงี้ยวปล้นเมืองแพร่ ==
วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2445 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ พระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสงชูโต) ยกกำลังไปปราบ กบฎเงี้ยว ที่เมืองแพร่ ในมณฑลพายัพ
 
ทั้งนี้ในปี 2440 รัชกาลที่ 5 ได้เปลี่ยนการปกครองจากเจ้าผู้ครองนครเป็นเทศาภิบาล ยุบเลิกฐานะเมืองประเทศราช แล้วรวมอำนาจเข้าสู่ส่วนกลาง พร้อมทั้งโปรดเกล้าฯ ให้ พระยาไชยบูรณ์ (ทองอยู่ สุวรรณบาตร) เป็นข้าหลวงปกครองเมืองแพร่เป็นคนแรก เจ้าเมืองแพร่องค์เดิมคือ พระยาพิริยวิไชย จึงสูญเสียอำนาจไปเพราะอำนาจสิทธิ์ขาดตกเป็นของข้าหลวงซึ่งเป็นข้าราชการที่ส่งมาจากส่วนกลาง อีกทั้งยังถูกตัดผลประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจ สร้างความไม่พอใจแก่เจ้าเมืองและเจ้านายบุตรหลานทั้งหลายรวมไปถึงชาวเมืองแพร่เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะเมืองแพร่นั้น เมื่อครั้งปฏิรูปการปกครองในปี 2442 พระยาศรีสหเทพ (เส็ง วิรยศิริ) ได้จัดการอย่างรุนแรงและบีบบังคับยิ่งกว่าเมืองอื่น ๆ
 
วันที่ 24 กรกฎาคม 2445 ชาว “เงี้ยว” (หรือชาวไทใหญ่ ชาติพันธุ์หนึ่งที่อาศัยอยู่ในมณฑลพายัพมาช้านาน) ในเมืองแพร่นำโดย พะกาหม่อง และ สลาโปไชย พร้อมกำลังราว 40-50 นาย ได้ก่อความวุ่นวายขึ้น โดยบุกยึดสถานที่ราชการและปล้นเงินคลังของจังหวัด ตลอดจนปล่อยนักโทษในเรือนจำ ต่อมากำลังเพิ่มเป็นราว 300 นายเพราะชาวเมืองแพร่เข้ามาสนับสนุน สามารถยึดเมืองแพร่ได้ในวันที่ 25 กรกฎาคม จากนั้นก็ไปเชิญเจ้าเมืองแพร่องค์เดิมให้ปกครองบ้านเมืองต่อ และออกตามล่าข้าราชการคนนอกที่เข้ามาปกครองเมืองแพร่ สามารถจับตัวพระยาไชยบูรณ์ได้ในวันที่ 27 กรกฎาคม และบังคับให้คืนเมืองแพร่ แต่พระยาไชยบูรณ์ปฏิเสธจึงถูกสำเร็จโทษพร้อมกับข้าราชการอีกหลายคน
 
ความทราบถึงรัชกาลที่ 5 จึงได้โปรดเกล้า ฯ ให้พระยาสุรศักดิ์มนตรีนำทัพหลวงและกองทัพจากเมืองใกล้เคียงทำการปราบปรามพวกเงี้ยวได้อย่างราบคาบ โดยตั้งค่ายทัพที่บริเวณ “บ้านเด่นทัพชัย”(ต่อมาเปลี่ยนเป็น “ตำบลเด่นชัย” ใน “อำเภอเด่นชัย” ปัจจุบัน) หลังจากเริ่มสอบสวนเอาความในวันที่ 20 สิงหาคม 2445 พบว่าเจ้าเมืองแพร่ เจ้าราชบุตร เจ้าไชยสงคราม มีส่วนสนับสนุนให้กองโจรเงี้ยวก่อการกบฎขึ้น แต่ครั้นจะจับกุมตัวสั่งประหารชีวิต ท่านก็เกรงว่าจะกระทบกระเทือนต่อความสัมพันธ์กับหัวเมืองทางเหนือซึ่งถือเป็นเครือญาติผู้สืบสายราชวงศ์เจ้าเจ็ดตนด้วยกัน จึงปล่อยข่าวลือว่าจะจับกุมตัวเจ้าเมืองแพร่ พระยาพิริยวิไชยจึงหลบหนีออกไป หลังหลบหนีไปได้ 15 วัน เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรีจึงออกคำสั่งถอดเจ้าเมืองแพร่ออกจากตำแหน่งทันที ด้วยถือว่าเป็นการละทิ้งหน้าที่ราชการ พร้อมกับสั่งอายัดทรัพย์เพื่อชดใช้หนี้หลวงที่เจ้าเมืองแพร่ค้างกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ สำหรับคดีความผิดฐานร่วมก่อการกบฎก็เป็นอันต้องระงับโดยปริยาย ไม่มีการรื้อฟื้นขึ้นอีก เจ้าพิริยเทพวงศ์เจ้าเมืองแพร่องค์สุดท้ายต้องลี้ภัยไปใช้ชีวิตในบั้นปลายที่เมืองหลวงพระบาง จนถึงแก่พิราลัย
 
==ราชตระกูล==