ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบอบเผด็จการ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
{{รูปแบบแห่งรัฐ}}
[[File:Hitlermusso2 edit.jpg|thumb|[[Benito Mussolini|เบนนิโต มุสโสลินี]] (ซ้าย) และ [[Adolf Hitler|อะดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] (ขวา) นโยบายและคำสั่งของฮิตเลอร์มีผลทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อการเสียชีวิต[[World War II casualties|ราว 50 ล้านคนในยุโรป]]<ref>Del Testa, David W; Lemoine, Florence; Strickland, John (2003). ''Government Leaders, Military Rulers, and Political Activists.'' Greenwood Publishing Group. p. 83. {{ISBN|978-1-57356-153-2}}.</ref> ส่วนมุสโสลินีเป็รผู้ริเริ่มแนวคิด "[[ฟาสซิสต์]]" ใน[[ยุโรป]]]]{{Basic forms of government}}
'''ระบอบเผด็จการ''' ({{lang-en|dictatorship}}) หมายถึง รูปแบบการปกครองแบบ[[อัตตาธิปไตย]] ซึ่ง[[รัฐบาล]]อยู่ภายใต้การบริหารของบุคคลเพียงคนเดียว หรือ [[ผู้เผด็จการ]] โดยไม่มีการสืบทอดตำแหน่งตามสายเลือด
 
'''ระบอบเผด็จการ''' ({{lang-en|dictatorship}}) เป็น[[รัฐบาล|รูปแบบรัฐบาล]]ที่มีลักษณะคือมีผู้นำคนเดียวหรือกลุ่มเดียว และมีการทนเพียงเล็กน้อยต่อหรือไม่ทนเลยต่อ[[Pluralism (political philosophy)|ความเป็นพหุนิยมทางการเมือง]]และต่อ[[independent media|สื่อเสรี]]<ref name=":0">{{Cite book|title=Dictators and dictatorships : understanding authoritarian regimes and their leaders|last=Ezrow|first=Natasha|publisher=Continuum|others=Frantz, Erica|year=2011|isbn=978-1-4411-1602-4|location=New York|oclc=705538250}}</ref> ในคำนิยามแบบอื่น ๆ นั้น เผด็จการก็คือระบอบที่ไม่ใช่[[ประชาธิปไตย]]<ref name=":0"/>
คำว่า ''เผด็จการ'' อาจมีได้หลายความหมายเช่น
# ผู้เผด็จการของ[[สาธารณรัฐโรมัน]] ซึ่งมีอำนาจปกครองเบ็ดเสร็จในยามฉุกเฉินของบ้านเมือง ซึ่งอำนาจจากการใช้ตำแหน่งดังกล่าวไม่ต้องมีเหตุผลหรือไม่ต้องรับผิดชอบแต่อย่างใด มีอำนาจอยู่เหนือ[[กฎหมาย]] และถือว่าการกระทำทั้งหมดนั้นไม่ผิดกฎหมายย้อนหลัง
# รัฐบาลซึ่งปกครองโดยบุคคลเพียงคนเดียว หรือคณะบุคคลเพียงส่วนน้อย
# หรืออาจหมายถึง การปกครองซึ่งรัฐบาลมีอำนาจเด็ดขาด ไม่ถูกจำกัดโดยกฎหมาย [[รัฐธรรมนูญ]] หรือปัจจัยทางสังคมหรือการเมืองอื่นภายในรัฐนั้น
 
โลกในยุคศตวรรษที่ 19 ถึง 20 มีระบอบเผด็จการ กับระบอบประชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญเกิดขึ้นเป็น[[รูปแบบของรัฐ]]หลักสองรูปแบบ ซึ่งค่อยลดทอนระบอบ[[กษัตริย์|สมบูรณาญาสิทธิราชย์]]ลงในยุคต้นปฏิวัติอุตสาหกรรม สังคมเผด็จการ และ[[Totalitarianism|เผด็จการเบ็ดเสร็จ]]มักใช้[[โฆษณาชวนเชื่อ]]เพื่อลดทอนอิทธิพลของคู่ตรงข้ามทางการเมืองหรือระบอบการปกครองอื่นลง<ref>{{Cite journal|last=Tucker|first=Robert C.|date=1965|title=The Dictator and Totalitarianism.|journal=World Politics|volume= 17| issue = 4|pages= 555–83|oclc=4907282504|doi=10.2307/2009322|jstor=2009322}}</ref><ref>{{Cite journal|last=Cassinelli|first=C. W.|date=1960|title=Totalitarianism, Ideology, and Propaganda.|journal=The Journal of Politics|volume= 22| issue = 1|pages= 68–95|oclc=6822391923|doi=10.2307/2126589|jstor=2126589|s2cid=144192403}}</ref>
==ดูเพิ่ม==
 
* [[ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช]]
== อ้างอิง ==
* [[เผด็จการทหาร]]
{{รายการอ้างอิง}}
* [[ระบบใช้อำนาจเด็ดขาด]]
* [[ฟาสซิสต์]]
* [[คอมมิวนิสต์]]
 
==หนังสืออ่านเพิ่มเติม==