ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชาวโยดะยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ethan2345678 (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ศัพทมูลวิทยา: ไม่ควรใช้ ปี กับ พ.ศ. ด้วยกัน
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 17:
== ศัพทมูลวิทยา ==
[[ไฟล์:Gezicht op Judea, de hoofdstad van Siam Rijksmuseum SK-A-4477.jpeg|270px|thumb|กรุงศรีอยุธยาในอดีต]]
ชื่อ ''โยดะยา'' ({{lang-my|ယိုးဒယား}}) เป็นการออกเสียงชื่อเดิมของ[[กรุงศรีอยุธยา]] คือ'''อโยธยา''' ตาม[[ภาษาพม่า|สำเนียงพม่า]]<ref name="กำพล">''อยุธยา จากสังคมเมืองท่านานาชาติ สู่มรดกโลก'', หน้า 64-66</ref><ref>''ความเป็นมาของคำสยาม, ไทย ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ'', หน้า 47-48</ref> ดังปรากฏชื่อเดิมของกรุงศรีอยุธยาจากจารึกบนเขา[[วัดวรนาถบรรพต]]ว่า ''กรุงอโยธยาศรีรามเทพนคร'' อันเป็นนามเมืองเดียวกันกับเมืองของ[[พระราม]] สอดคล้องกับบันทึกของ[[ชาวโปรตุเกส]]ที่บันทึกชื่อเดิมของกรุงศรีอยุธยาว่า "โอเดีย" (Odiaa)<ref name="กำพล"/> ส่วน[[อาณาจักรล้านนา]]เรียกว่า "โยธิยา"<ref>{{cite web |url= https://www.gypzyworld.com/article/view/1149 |title= ออกพระจักรีจึงเป็นตัวแทนของโยดะยาที่คบได้ ไม่กลิ้งกลอก ภักดีต่อนายพม่า แต่คนไทยคงไม่ชอบเราถือหลักฐาน |author= กรกิจ ดิษฐาน |date= 23 กรกฎาคม 2561 |work= Gypzy World |publisher=|accessdate= 19 ธันวาคม 2563}}</ref> แต่หลังเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่หนึ่งในปี พ.ศ. 2112 [[สมเด็จพระนเรศวรมหาราช]]ทรงปรับนามเมืองเสียใหม่ว่า ''ศรีอยุทธยา'' แปลว่า "เมืองที่รบไม่แพ้"<ref>''อยุธยา จากสังคมเมืองท่านานาชาติ สู่มรดกโลก'', หน้า 67</ref><ref>''กระดานทองสองแผ่นดิน'', หน้า 98-99</ref> แต่ชาวกรุงศรีอยุธยาเองจะเรียกเมืองหลวงของตนเองว่า ''กรุงเทพพระมหานคร''<ref name="กำพล"/>
 
ส่วน "โยดะยา" หรือ "โยธยา" ปรากฏครั้งแรกในวรรณคดีพม่าของชิน อน ญอ (Shin Ohn Nyo) เป็นกลอนบาลี 60 บท และบทกวีของพระอัคคสมาธิ (Shin Aggasamadhi) ที่เกี่ยวข้องกับมัคฆเทวะ (Magghadeva) นับแต่การกำเนิดพระ[[เนมิราช]] หลักฐานดังกล่าวมีอายุในปี พ.ศ. 2060-2071<ref name="สุเนตร7"> เมี้ยนจี (เขียน), สุเนตร ชุตินธรานนท์ และธีรยุทธ พนมยงค์ (แปลและเรียบเรียง). "บทเพลงโยธยาสามเพลงอันแสดงถึงลักษณะไทยในประเทศพม่า ดนตรีพม่ายุคจารีต". ''พม่าอ่านไทย : ว่าด้วยประวัติศาสตร์และศิลปะไทยในทรรศนะพม่า'', หน้า 141</ref>
 
โดยคำว่า "โยดะยา" ในการรับรู้ของชาวพม่าโบราณมีความหมายสองอย่างคือ<ref name="ศานติ">ศานติ ภักดีคำ, รศ. ดร. (5 มีนาคม 2561). "ตามรอยสมเด็จพระเจ้าอุทุมพร หรือขุนหลวงหาวัด: จากกรุงศรีอยุธยาสู่กรุงอมรปุระ". ''ศิลปวัฒนธรรม''. (39:5), หน้า 72-92</ref>