ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สัมฤทธิ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Assorted bronze castings.JPG|thumb|เครื่องมือโบราณบางส่วนที่ทำจากสัมฤทธิ์]]
 
'''สำริดสัมฤทธิ์''' ({{lang-en|bronze}}; โบราณเขียน "สำริด" มาจากภาาษาสันสกตว่า Sam-ritta สมัยหลังเขียน "สัมฤทธิ์") หมายถึง โลหะประสม[[ทองแดง]]ชนิดหนึ่ง ที่มีคุณลักษณะแปรผันหลากหลาย ปกติมี[[ดีบุก]]เป็นส่วนประกอบหลัก แต่บางครั้งก็มีธาตุอื่น ๆ เช่น[[ฟอสฟอรัส]], [[แมงกานีส]], [[อะลูมิเนียม]] หรือ [[ซิลิกอน]] <!--(ดู [[#Classification of Copper and Its Alloys|ตารางข้างล่าง]].)--> สำริดสัมฤทธิ์เป็นโลหะที่แข็งแรง และเหนียว และมีการใช้งานอย่างกว้างขวางในทางอุตสาหกรรม และมีความสำคัญเป็นพิเศษในสมัยโบราณ จนนักโบราณคดีเรียกยุคหนึ่งว่า [[ยุคสัมฤทธิ์|ยุคสำริด]]
 
== ประวัติ ==
การใช้สำริดสัมฤทธิ์นับว่ามีนัยสำคัญต่ออารยธรรมใด ๆ ก็ตามที่ใช้โลหะนี้ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องมือ เครื่องใช้ อาวุธ เกราะ และวัสดุก่อสร้างต่าง ๆ เช่น แผ่นประดับอาคาร ที่ทำมาจากสำริดสัมฤทธิ์ล้วนมีความแข็งกว่า และทนทานกว่าหินและทองแดง (Chalcolithic) ที่เคยใช้กันมา การใช้ในสมัยแรก ๆ บางครั้งสารหนูในธรรมชาติที่ไม่บริสุทธิ์ก็มีส่วนสร้างโลหะประสมธรรมชาติที่ยอดเยี่ยมขึ้นมา เรียกว่า "arsenical bronze"
 
สำริดสัมฤทธิ์ที่มีส่วนประกอบดีบุกสมัยแรกสุดนั้น เริ่มมีการใช้เมื่อ 4 พันปีก่อน[[คริสตกาล]] ในภูมิภาคซูซา (Susa) ใน[[ประเทศอิหร่าน]] และบางพื้นที่ในลูริสถาน (Luristan) ประเทศอิหร่าน และ[[เมโสโปเตเมีย]] [[ประเทศอิรัก]]
 
ขณะที่[[ทองแดง]]และ[[ดีบุก]]นั้นสามารถเกิดขึ้นอยู่ด้วยกันตามธรรมชาติ แต่ทว่าแร่ดิบทั้งสองนี้ไม่ค่อยจะพบอยู่ด้วยกัน แม้จะพบในแหล่งแร่โบราณแห่งหนึ่งในประเทศไทย และแห่งหนึ่งในประเทศอิหร่าน แต่ก็นับเป็นตัวอย่างที่หาได้ยาก
 
งานสำริดสัมฤทธิ์ที่สร้างด้วยมือมีผลต่อให้เกิดการค้าเสมอมา ความจริงแล้ว นักโบราณคดีคาดว่า การค้าดีบุกที่เกิดขึ้นอย่างจริงจัง เป็นเหตุให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปสู่[[ยุคเหล็ก]] ในยุโรปนั้น แหล่งดีบุกที่สำคัญคือ[[เกาะเกรตบริเตน]]
ปัจจุบันความสำคัญของสำริดสัมฤทธิ์น้อยลง จะพบเห็นได้จากงานศิลปะเท่านั้น เนื่องจากมูลค่าของการสร้างงานด้วยสำริดสัมฤทธิ์นั้น มีความสวยงามกว่าวัสดุอื่น เช่น เหล็ก ทองเหลือง หรือทองแดง
 
== แหล่งข้อมูล ==