ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นูกูอาโลฟา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 9422517 สร้างโดย 2001:FB1:108:6DCA:2491:A6E1:2DD8:A64F (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{บทความคัดสรร}}
{{Use dmy dates}}
{{Infobox settlement
<!--See Template:Infobox Settlement for additional fields that may be available-->
<!--See the Table at Infobox Settlement for all fields and descriptions of usage-->
<!-- Basic info ---------------->
| name = นูกูอาโลฟา
| official_name = Nukuʻalofa
| other_name =
| native_name =
| native_name_lang =
| nickname =
| settlement_type =
| total_type =
| motto =
<!-- images and maps ----------->
| image_skyline = {{Photomontage
| color = #ffffff
| photo1a = Parliament Nuku'alofa.jpg{{!}}
| photo1b = Saione.jpg
| photo2a = Nuku alofa Tonga Temple 2007-11-17.jpg{{!}}
| photo2b = Taumoepeau Building.jpg{{!}}
| photo3a = Royal Palace, Nuku'alofa, Nov 18.jpg{{!}}
| photo4a = Nukualofa Tonga 2.jpg{{!}}
| photo4b = Nukualofa Tonga 6.jpg{{!}}
| spacing = 5
| border = 0
| size = 266
}}
| imagesize =
| image_caption = {{nobreak|''ภาพจากซ้ายไปขวาและบนลงล่าง:''}}<br /> สำนักนายกรัฐมนตรี, โบสถ์ซาอีโอเน, โบสถ์ตองงานูกูอาโลฟา, อาคารเตาโอเมเปเอา, พระราชวัง, ต้นจามจุรีกลางกรุง, อาคารกระทรวงการคลัง
| image_flag =
| flag_size =
| image_seal =
| seal_size =
| image_shield =
| shield_size =
| image_blank_emblem =
| blank_emblem_type =
| blank_emblem_size =
| image_map =
| mapsize =
| map_caption =
| image_map1 = Nukuʻalofa.gif
| mapsize1 =
| map_caption1 = นูกูอาโลฟา (สีแดง) บนเกาะโตงาตาปู
| pushpin_map = Tonga <!-- the name of a location map as per http://en.wikipedia.org/wiki/Template:Location_map -->
| pushpin_relief = 1
| pushpin_label_position = <!-- the position of the pushpin label: left, right, top, bottom, none -->
| pushpin_map_caption =
| pushpin_mapsize =
<!-- Location ------------------>
| subdivision_type = ประเทศ
| subdivision_name = {{flag|Tonga}}
| subdivision_type1 = เขตปกครอง
| subdivision_name1 = [[โตงาตาปู]]
| subdivision_type2 =
| subdivision_name2 =
<!-- Politics ----------------->
| government_footnotes =
| government_type =
| leader_title =
| leader_name = <!--add (no-break space) to leader names to disable automatic links-->
| leader_title1 =
| leader_name1 =
| established_title = <!-- Settled -->
| established_date =
<!-- Area --------------------->
| area_magnitude =
| unit_pref =
| area_footnotes =
| area_total_km2 = 11.41
| area_land_km2 =
| area_water_km2 =
| area_total_sq_mi =
| area_land_sq_mi =
| area_water_sq_mi =
| area_water_percent =
<!-- Elevation -------------------------->
| elevation_footnotes = <!--for references: use <ref> tags-->
| elevation_m = 4
| elevation_ft =
| elevation_max_m = 6
| elevation_max_ft = 20
| elevation_min_m = 0
| elevation_min_ft = 0
<!-- Population ----------------------->
| population_as_of = 2016
| population_footnotes =
| population_note =
| population_total = 23221
| population_est =
| pop_est_as_of =
| population_density_km2 = 2,035
| population_density_sq_mi =
<!-- General information --------------->
| timezone = –
| utc_offset = +13
| timezone_DST =
| utc_offset_DST =
| coor_pinpoint = <!-- can be used to specify exactly where/what the coordinates refer to -->
| coordinates = {{coord|21|8|9|S|175|12|32|W|region:TO|display=inline,title}}
| postal_code_type =
| postal_code = 00196-8000
| area_code = 676
| blank_name = [[การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิพเพิน|ภูมิอากาศ]]
| blank_info = [[ภูมิอากาศแบบป่าดิบชื้น|Af]]
| website =
| footnotes =
}}
 
'''นูกูอาโลฟา''' ({{lang-to|Nukuʻalofa}}) เป็นเมืองหลวง เมืองที่ใหญ่ที่สุดและศูนย์กลางด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ วัฒนธรรมของ[[ประเทศตองงา|ตองงา]] กรุงนูกูอาโลฟาตั้งอยู่ทางตอนเหนือของเกาะ[[โตงาตาปู]] มีทิศเหนือติดต่อกับ[[มหาสมุทรแปซิฟิก]] ทิศใต้ติดต่อกับลากูนฟางาอูตา ทิศตะวันตกติดต่อกับพื้นที่นอกกรุงของเขต[[โกโลโมตูอา]]{{efn||name=fn1}} และทิศตะวันออกติดต่อกับพื้นที่นอกกรุงของเขต[[โกโลโฟโออู]]{{efn|name=fn1|หากนับตามการแบ่งเขตการปกครองของตองงา พื้นที่กรุงนูกูอาโลฟาเป็นส่วนหนึ่งของเขตโกโลโมตูอาและโกโลโฟโออู}} มีจำนวน[[ประชากร]]เท่ากับ 23,221 คน หรือเกือบ 1 ใน 4 ของประชากรทั้งประเทศ และหากนับรวมพื้นที่ ''Greater Nukuʻalofa'' จะมีจำนวนประชากรเท่ากับ 35,184 คน ด้วยจำนวนและความหนาแน่นของประชากรที่สูง กรุงนูกูอาโลฟาจึงมีสถานะเป็นเมืองโตเดี่ยว และเป็นเขตเมืองเพียงแห่งเดียวของประเทศ<ref name="census"/><ref name="Census2"/> <ref>{{cite web |url= https://spccfpstore1.blob.core.windows.net/digitallibrary-docs/files/a1/a1685f63757a2d84c9da41b0a95fc00f.pdf?sv=2015-12-11&sr=b&sig=nl1IGwu%2B3N3AtK7FIua%2FWbjUxpdJDT%2BGeksmzui3Vvg%3D&se=2021-02-08T13%3A48%3A37Z&sp=r&rscc=public%2C%20max-age%3D864000%2C%20max-stale%3D86400&rsct=application%2Fpdf&rscd=inline%3B%20filename%3D%2203038.pdf%22|title=TWENTY-SECOND SOUTH PACIFIC CONFERENCE |author= |date= |work= |publisher= SOUTH PACIFIC COMMISSION |accessdate=July 5, 2020}}</ref>
 
ในอดีตพื้นที่นูกูอาโลฟาส่วนใหญ่อยู่ใต้ทะเล มีสภาพเป็นเกาะ ไม่ได้เชื่อมต่อกับเกาะโตงาตาปูในปัจจุบัน<ref name="pre"/> มีหลักฐานการตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ตั้งแต่ก่อน 800 ปีก่อนคริสตกาล<ref name="Uranium"/> นับตั้งแต่การสถาปนา[[จักรวรรดิตูอีโตงา]]เป็นต้นมา นูกูอาโลฟาเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิแห่งนี้ จนกระทั่งในคริสต์ศตวรรษที่ 18 มีชาวยุโรปหลายกลุ่มได้มีโอกาสมาเยี่ยมเยียนนูกูอาโลฟา<ref name="tonbri">{{cite web |url= https://www.britannica.com/place/Tonga/History#ref514057|title=History|author= |date= |work= |publisher=Encyclopædia Britannica |accessdate=August 9, 2020}}</ref> นูกูอาโลฟาเริ่มมีความสำคัญกับประวัติศาสตร์ตองงาในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 เมื่อกลายเป็นศูนย์กลางอำนาจของ[[ตูอิกาโนกูโปลู]]<ref name="mana"/>{{rp|127}} พร้อมกับการเป็นศูนย์กลางในการเผยแพร่[[ศาสนาคริสต์]]ในประเทศ<ref name="niume"/>{{rp|130}} และต่อมากลายเป็นศูนย์กลางการเมืองการปกครองจนถึงปัจจุบันหลังจากที่[[พระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1]] สถาปนาราชอาณาจักรตองงาขึ้น<ref name="capital establish"/> การสถาปนากรุงนูกูอาโลฟาเป็นเมืองหลวงนำไปสู่การพัฒนาระบบ[[สาธารณูปโภค]]และการก่อสร้างที่ทำการของหน่วยงานภาครัฐที่สำคัญ รวมไปถึงเป็นที่ตั้งของสถานเอกอัครราชทูตทั้งหมดที่มีภารกิจในประเทศตองงา ช่วงระหว่าง ค.ศ. 2005–6 มีการชุมนุมเรียกร้องประชาธิปไตยในกรุงนูกูอาโลฟา แม้จะประสบความสำเร็จ แต่สร้างความเสียหายให้กับพื้นที่ศูนย์กลางธุรกิจเป็นอย่างมาก
 
การเป็นศูนย์กลางของประเทศ ส่งผลให้การพัฒนาระบบสาธารณูปโภคภายในนูกูอาโลฟาดีกว่าพื้นที่อื่น มีระบบถนนที่เชื่อมโยงสู่พื้นที่อื่นบนเกาะโตงาตาปู มีท่าเรือน้ำลึกมาตรฐาน รวมไปถึงตั้งอยู่ไม่ไกลจากท่าอากาศยานนานาชาติหลักของประเทศ นอกจากนี้โรงพยาบาลที่มีความพร้อมสูงสุดและสถาบันการศึกษาที่มีชื่อเสียงหลายแห่งล้วนตั้งอยู่ในเมืองนี้ทั้งสิ้น กรุงนูกูอาโลฟามีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจขึ้นเป็นลำดับ นำไปสู่การอพยพของประชากรจากพื้นที่ส่วนอื่นเข้ามาอยู่ในนูกูอาโลฟามากขึ้น อันนำไปสู่ปัญหาการรองรับการขยายตัวของประชากร เนื่องจากพื้นที่ของเมืองมีจำกัดและขาดการวางแผน<ref name=migration/> การพัฒนาพื้นที่เมืองและการมีจำนวนประชากรเป็นจำนวนมาก ทำให้พื้นที่เมืองเป็นศูนย์กลางการจัดเฉลิมฉลองงานเทศกาลที่สำคัญ เป็นศูนย์กลางด้านกิจการสื่อ ได้รับเลือกให้เป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาระดับทวีป รวมไปถึงการเป็นพื้นที่ที่มีการนำวัฒนธรรมจากภายนอกเข้ามาผสมผสานกับวัฒนธรรมตองงาอย่างชัดเจน
 
== ศัพทมูลวิทยา ==
เมื่อศึกษาตามหลัก[[ศัพทมูลวิทยา]]พบว่านูกูอาโลฟา มีที่มาจากคำใน[[ภาษาตองงา]] 2 คำ คือคำว่า ''Nuku'' หมายถึง ที่พัก และคำว่า ''Alofa'' หมายถึง ความรัก ดังนั้นนูกูอาโลฟา จึงมีความหมายว่าที่พักแห่งความรัก<ref name=cia>{{cite web |url= https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/geos/tn.html|title=Australia–Oceania: Tonga |author= |date= |work= |publisher= CIA |accessdate=July 5, 2020}}</ref>{{efn| ในภาษาตองงาสามารถถอดชื่อเมืองหลวงแห่งนี้เป็น[[สัทอักษร]]ได้ว่า /nuku.ˈəloʊfə/<ref>{{cite web |url= https://www.lexico.com/en/definition/nuku'alofa|title=Nuku'alofa:Definition of Nuku'alofa by Oxford Dictionary |author= LEXICO |date= |work= |publisher= |accessdate=July 5, 2020}}</ref>}} นูกูอาโลฟาปรากฏชื่อเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกในหนังสือของมิชชันนารีชาวอังกฤษที่ชื่อจอร์จ แวสัน ซึ่งตีพิมพ์เมื่อ ค.ศ. 1810 บอกเล่าถึงประสบการณ์ของเขาในการเดือนทางเยือนตองงาใน ค.ศ. 1797 โดยเขาสะกดชื่อเมืองแห่งนี้ว่า ''Noogollefa''<ref name="vason">{{cite book |title= An authentic of narrative of four years residence at one of the Friendly Islands |last= Vason|first= George |authorlink= |coauthors= |year= 1810 |publisher= J. Staford|location= |isbn= |page= |pages= |url=https://books.google.co.th/books?id=V7oQAAAAIAAJ&printsec=frontcover&hl=th&source=gbs_ge_summary_r&cad=0#v=onepage&q&f=false |accessdate=}}</ref>{{rp|68}} นอกจากนี้ยังพบการเขียนชื่อนูกูอาโลฟาของชาวตะวันตกที่เข้ามาเยี่ยมเยียนอีกหลายรูปแบบ ได้แก่ ''Nioocalofa''<ref name="mariner"/>{{rp|93}} ''Nukualofa''<ref>{{cite book |title= A Pioneer, A Memoir of The Rev. John Thomas |last= Rowe|first= Stringer G |authorlink= |coauthors= |year= 1885 |publisher= |location= |isbn= |page= |pages= |url=|accessdate=}}</ref>{{rp|33–4}} และ ''Noukou-Alofa''<ref>{{cite book |title= Les Tonga; ou, Archipel des Amis et le R. P |last= Monfat|first= A |authorlink= |coauthors= |year= 1893 |publisher=Joseph Chevron de la Société de Marie |location= |isbn= |page= |pages= |url=|accessdate=}}</ref>{{rp|184}} สาเหตุที่การสะกดชื่อต่างจากปัจจุบัน เนื่องจากการพัฒนาตัว[[อักษรละติน]]เพื่อเขียนภาษาตองงาได้เริ่มจริงจังในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1820–30<ref>{{cite journal |last1= Latukefu |first1= Sione |last2= |first2= |date= 1969 |title=The case of the Wesleyan Mission in Tonga |url= |journal=Journal de la Société des Océanistes |volume= 25 |issue= |pages= 95–112|doi= |access-date=}}</ref>{{rp|102}}