ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สนามกีฬาไซตามะ 2002"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BeckNoDa (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
แก้ไข error แม่แบบ
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล สนามกีฬา
{{Infobox Stadium
| stadium_name = สนามกีฬาไซตามะ 2002 |
| nickname = ไซซูตะ
บรรทัด 20:
| former_names =
| nicknames =
| tenants = [[อูราวะ เรดไดมอนส์]] (2001-2001–ปัจจุบัน)
| seating_capacity = 63,700
| dimensions = 105 x 68 ม.
}}
 
'''สนามกีฬาไซตามะ 2002''' ({{ญี่ปุ่น|埼玉スタジアム2002|Saitama Sutajiamu Nimarumaruni}}; {{lang-en|Saitama Stadium 2002}}) หรือมักเรียกสั้น ๆ ว่า'''สนามกีฬาไซตามะ''' ({{lang-jaญี่ปุ่น|埼玉スタジアム|Saitama Sutajiamu}}) หรือ'''ไซซูตะ''' ({{lang-jaญี่ปุ่น|埼スタ|Saisuta}}) เป็น[[สนามฟุตบอล]]
 
สนามกีฬาไซตามะ 2002 สร้างขึ้นสำหรับ[[ฟุตบอลโลก 2002]] โดยเฉพาะ เป็นสนามที่ใช้แข่งขันฟุตบอลโดยเฉพาะที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในเอเชีย และมักได้รับเลือกให้ใช้เป็นสนามแข่งฟุตบอลนัดเหย้าของทีมชาติญี่ปุ่นนัดสำคัญหลายครั้ง อันเนื่องมาจากความปรารถนาของผู้นิยมกีฬาฟุตบอลเอง ปัจจุบัน สนามกีฬาไซตามะ 2002 ใช้เป็นที่จัดการแข่งขันนัดเหย้าของสโมสรฟุตบอลเจลีก (J. League football clubs) ของทีมฟุตบอล[[อูราวะ เรดไดมอนส์]] (Urawa Red Diamonds)
 
== ที่ตั้ง ==
ตั้งอยู่ที่ตำบลมิโดริ [[ไซตามะ (เมือง)|เมืองไซตามะ]] [[จังหวัดไซตามะ]] อยู่ห่างจากสถานีรถไฟอูราวะ-มิโซโนะ ({{lang-jaญี่ปุ่น|浦和美園駅|Urawa Misono eki}}) ใช้เวลาเดินทางโดยการเดินประมาณสิบห้าถึงยี่สิบนาที
 
==การเดินทาง==
===รถไฟ===
เส้น 39 ⟶ 40:
 
== ประวัติ ==
สนามกีฬาไซตามะ 2002 สร้างโดยบริษัท{{Interlanguage link|อาซูซะ เซ็กเก ({{ญี่ปุ่น|[[:ja:|梓設計}} ({{ญี่ปุ่น|梓設計]]|Azusa Sekkei}}) โดยเริ่มโครงการใน ค.ศ. 1987 เมื่อแรกได้ออกแบบให้รองรับผู้ชมสี่หมื่นคน ต่อมาขยายเป็นหกหมื่นคน และก่อสร้างแล้วเสร็จในเดือนกันยายน ค.ศ. 2001 เพื่อใช้จัดฟุตบอลโลก 2002 โดยเฉพาะ เมื่อสร้างเสร็จพบว่าจุคนได้หกหมื่นสามพันเจ็ดร้อยคน แต่เนื่องจากเหตุผลในการแบ่งฟากผู้ชม จึงจุคนได้จริงเพียงหกหมื่นสองพันสามร้อยคน ในฟุตบอลโลก 2002 นั้น สนามกีฬาดังกล่าวได้ใช้สำหรับการแข่งขันสี่คู่ รวมถึงคู่ญี่ปุ่นกับเบลเยียมซึ่งแข่งประเดิมเทศกาล กับคู่รอบรองชนะเลิศระหว่างบราซิล-ตุรกี<ref name="ฟุตบอลโลก">[http://www.urawa-reds.co.jp/english/saitama.html Saitama Stadium 2002] {{en icon}}</ref>
 
สนามกีฬาไซตามะ 2002 สร้างโดยบริษัทอาซูซะ เซ็กเก ({{ญี่ปุ่น|[[:ja:梓設計|梓設計]]|Azusa Sekkei}}) โดยเริ่มโครงการใน ค.ศ. 1987 เมื่อแรกได้ออกแบบให้รองรับผู้ชมสี่หมื่นคน ต่อมาขยายเป็นหกหมื่นคน และก่อสร้างแล้วเสร็จในเดือนกันยายน ค.ศ. 2001 เพื่อใช้จัดฟุตบอลโลก 2002 โดยเฉพาะ เมื่อสร้างเสร็จพบว่าจุคนได้หกหมื่นสามพันเจ็ดร้อยคน แต่เนื่องจากเหตุผลในการแบ่งฟากผู้ชม จึงจุคนได้จริงเพียงหกหมื่นสองพันสามร้อยคน ในฟุตบอลโลก 2002 นั้น สนามกีฬาดังกล่าวได้ใช้สำหรับการแข่งขันสี่คู่ รวมถึงคู่ญี่ปุ่นกับเบลเยียมซึ่งแข่งประเดิมเทศกาล กับคู่รอบรองชนะเลิศระหว่างบราซิล-ตุรกี<ref name="ฟุตบอลโลก">[http://www.urawa-reds.co.jp/english/saitama.html Saitama Stadium 2002] {{en icon}}</ref>
 
=== การแข่งขันฟุตบอลโลกปี 2002 ที่ใช้สนามแห่งนี้ ===
บรรทัด 49:
|report = [https://www.fifa.com/worldcup/matches/round=43950100/match=43950005/index.html รายงาน]
|round=รอบแบ่งกลุ่ม กลุ่มเอฟ
|team1={{fb-rt|ENGEngland}}
|team2={{fb|SWESweden}}
|goals1= [[โซล แคมป์เบลล์|แคมป์เบลล์]] {{goal|24}}
|goals2= [[Niclas Alexandersson|Alexandersson]] {{goal|59}}
บรรทัด 64:
|report = [https://www.fifa.com/worldcup/matches/round=43950100/match=43950013/ รายงาน]
|round=รอบแบ่งกลุ่ม กลุ่มเอช
|team1={{fb-rt|JPNJapan}}
|team2={{fb|BELBelgium}}
|goals1= [[ทากายูกิ ซูซูกิ|ซูซูกิ]] {{goal|59}}</br>[[จุงอิจิ อินาโมโตะ|อินาโมโตะ]] {{goal|67}}
|goals2= [[Marc Wilmots|Wilmots]] {{goal|57}}</br>[[Peter Van der Heyden|Van der Heyden]] {{goal|75}}
บรรทัด 79:
|report = [https://www.fifa.com/worldcup/matches/round=43950100/match=43950019/index.html รายงาน]
|round=รอบแบ่งกลุ่ม กลุ่มอี
|team1={{fb-rt|CMRCameroon}}
|team2={{fb|KSASaudi Arabia}}
|goals1= [[ซามุแอล เอโต|เอโต]] {{goal|66}}
|stadium=สนามกีฬาไซตามะ 2002
บรรทัด 93:
|report = [https://www.fifa.com/tournaments/archive/worldcup/koreajapan2002/matches/round=43950400/match=43950062/index.html รายงาน]
|round=รอบรองชนะเลิศ
|team1={{fb-rt|BRABrazil}}
|team2={{fb|TURTurkey}}
|goals1= [[โรนัลโด]] {{goal|49}}
|stadium=สนามกีฬาไซตามะ 2002
บรรทัด 104:
 
==จุดเด่น ==
 
* สนามฟุตบอลที่ใหญ่ที่สุดของประเทศญี่ปุ่น
* สนามหญ้าธรรมชาติ กว้างหกสิบแปดเมตร และยาวหนึ่งร้อยห้าเมตร
เส้น 119 ⟶ 118:
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
 
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Saitama Stadium}}
 
* [http://www.stadium2002.com/ เว็บทางการ] {{ja icon}}
* [http://www.footballmatch.de/2010/05/tokio/ ชมบรรยากาศในสนาม] {{en icon}}
เส้น 128 ⟶ 125:
[[หมวดหมู่:ไซตามะ]]
[[หมวดหมู่:สนามกีฬาในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020]]
[[หมวดหมู่:ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2544]]