ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วูดโรว์ วิลสัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 62:
 
ในตำแหน่งประธานาธิบดีวาระแรก วิลสันอุทิศให้แก่การผลักดันวาระเสรีภาพใหม่ (New Freedom) ที่เป็นความคิดก้าวหน้า เขาจัดความสำคัญอันดับแรกให้กับการผ่านรัฐบัญญัติรัษฎากร ค.ศ. 1913 ซึ่งลดพิกัดอัตราศุลกากรและริเริ่มภาษีเงินได้ของรัฐบาลกลาง ต่อมากฏหมายภาษีซึ่งดำเนินการในการเก็บภาษีอสังหาริมทรัพย์ของรัฐบาลกลาง และเพิ่มอัตราภาษีรายได้สูงสุดถึงร้อยละ 77 วิลสันยังควบคุมการผ่านรัฐบัญญัติธนาคารกลาง ซึ่งก่อตั้ง[[ระบบธนาคารกลางสหรัฐ]] เขาผ่านสองกฎหมายที่สำคัญคือ รัฐบัญญํติคณะกรรมาธิการการค้ากลาง (Federal Trade Commission Act) และรัฐบัญญัติป้องกันการผูกขาดเคลย์ตัน เพื่อวางระเบียบผลประโยชน์ธุรกิจขนาดใหญ่หรือทรัสต์ (trust)
 
At the outbreak of World War I in 1914, Wilson maintained a policy of neutrality between the Allied and Central Powers. He narrowly won re-election in the 1916 United States presidential election, defeating Republican nominee Charles Evans Hughes. In April 1917, Wilson asked Congress for a declaration of war against the German Empire in response to its policy of unrestricted submarine warfare, Congress complied. Wilson presided over war-time mobilization but devoted much of his efforts to foreign affairs, developing the Fourteen Points as a basis for post-war peace. After the Allied victory in November 1918, Wilson and other Allied leaders took part in the Paris Peace Conference, where Wilson advocated for the establishment of a multinational organization. The resulting League of Nations was incorporated into the Treaty of Versailles. However, Wilson was unable to convince the U.S. Senate to ratify the treaty or allow the United States to join the League. Wilson had intended to seek a third term in office but suffered a severe stroke in October 1919 that left him incapacitated for most of what was left of his presidency. He retired from public office in 1921 and died in 1924 at the age of 67.
 
เมื่อ[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]อุบัติขึ้นใน ค.ศ. 1914 เขาดำเนินนโยบายเป็นกลาง เขาชนะการเลือกตั้งอีกสมัยอย่างเฉียดฉิวใน ค.ศ. 1916 โดยชนะ Charles Evans Hughes ผู้สมัครจากพรรครีพับลิกัน ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1917 วิลสันขออนุมัติรัฐสภาเพื่อประกาศสงครามต่อจักรวรรดิเยอรมันเพื่อตอบโต้นโยบายการสงครามเรือดำน้ำแบบไม่จำกัด ซึ่งรัฐสภายินยอม วิลสันให้มีการระดมพลยามสงครามแต่เขาอุทิศความพยายามส่วนใหญ่ให้แก่การต่างประเทศ โดยพัฒนา[[หลักการสิบสี่ข้อ]]เป็นพื้นฐานสำหรับสันติภาพหลังสงคราม หลังจากฝ่ายสัมพันธมิตรชนะในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1918 วิลสันและผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรคนอื่น ๆ เข้าร่วม[[การประชุมสันติภาพปารีส ค.ศ. 1919]] ที่วิลสันสนับสนุนการก่อตั้งองค์การระหว่างประเทศ ต่อมา[[สนธิสัญญาแวร์ซาย]]ได้นำเอาแนวคิดดังกล่าวก่อตั้ง[[สันนิบาติชาติ]] แต่วิลสันไม่สามารถโน้มน้าววุฒิสภาสหรัฐให้ยอมให้สัตยาบันสนธิสัญญาหรืออนุญาตให้สหรัฐเข้าร่วมกับองค์การดังกล่าว วิลสันตั้งใจลงสมัครรับเลือกตั้งประธานาธิบดีสมัยที่สามแต่เกิดโรคหลอดเลือดสมองรุนแรงเสียก่อนในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1919 ทำให้เขาทุพพลภาพเสียเกือบตลอดวาระที่เหลือ เขาวางมือจากตำแหน่งทางการเมืองใน ค.ศ. 1921 และเสียชีวิตใน ค.ศ. 1924 ด้วยวัย 67 ปี นักวิชาการส่วนใหญ่ได้ให้อันดับแก่วิลสันว่าเป็นหนึ่งในประธานาธิบดีแห่งสหรัฐที่ดีกว่าค่าเฉลี่ย<ref>Arthur M. Schlesinger, Jr., "Rating the Presidents: From Washington to Clinton". ''Political Science Quarterly'' (1997). 112#2: 179–90.</ref><ref name="jschuessler1">{{cite news|last1=Schuessler|first1=Jennifer|title=Woodrow Wilson's Legacy Gets Complicated|url=https://www.nytimes.com/2015/11/30/arts/woodrow-wilsons-legacy-gets-complicated.html|access-date=August 29, 2016|newspaper=The New York Times|date=November 29, 2015}}</ref> แม้ว่าเขาจะได้รับคำวิจารณ์อย่างรุนแรงสำหรับการกระทำของเขาเกี่ยวกับการแบ่งแยกทางเชื้อชาติ<ref name="kazin1">{{cite news |last1=Kazin |first1=Michael |title=Woodrow Wilson Achieved a Lot. So Why Is He So Scorned? |url=https://www.nytimes.com/2018/06/22/books/review/patricia-otoole-moralist-woodrow-wilson-biography.html |access-date=January 27, 2019 |newspaper=The New York Times |date=June 22, 2018}}</ref>