ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สังคมคอมมิวนิสต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 17:
สังคมคอมมิวนิสต์จะปลดปล่อยปัจเจกจากการทำงานยาวนานโดยขั้นแรกทำให้การผลิตเป็นอัตโนมัติในระดับหนึ่งซึ่งให้ชั่วโมงทำงานเฉลี่ยลดลง<ref>{{cite book |last= Peffer|first= Rodney G. |title= Marxism, Morality, and Social Justice |publisher= Princeton University Press|date=2014|isbn= 9780691608884|page = 73|quote= Marx believed the reduction of necessary labor time to be, evaluatively speaking, an absolute necessity. He claims that real wealth is the developed productive force of all individuals. It is no longer the labor time but the disposable time that is the measure of wealth.}}</ref> และขั้นที่สองกำจัดการขูดรีดซึ่งเป็นเนื้อในของการแบ่งแยกกรรมกรกับเจ้าของ ระบบคอมมิวนิสต์จะปลดปล่อยปัจเจกบุคคลจากอัญภาวะ (alienation) ในสำนึกว่าชีวิตของบุคคลสร้างอยู่รอบการเอาชีวิตรอด (อยู่เพื่อเอาค่าจ้างหรือเงินเดือนในสังคม[[ทุนนิยม]]) ซึ่งมากซ์เรียกว่าเป็นการเปลี่ยนผ่านจาก "อาณาจักรแห่งความจำเป็น" ไปสู่ "อาณาจักรแห่งอิสรภาพ" ผลคือ มากซ์พยากรณ์ว่าสังคมคอมมิวนิสต์จะประกอบด้วยประชากรที่มักจะเป็นปัญญาชน มีทั้งเวลาและทรัพยากรในการประกอบงานอดิเรกที่สร้างสรรค์และความสนใจอย่างแท้จริงของตน และมีส่วนส่งเสริมความมั่งคั่งทางสังคมสร้างสรรค์ด้วยวิธีนี้ คาร์ล มากซ์มองว่า "ความร่ำรวยแท้จริง" นั้นได้แก่ปรมาณเวลาที่คนมีอยู่เพื่อบรรลุความปรารถนาเชิงสร้างสรรค์ของตน<ref>{{cite book |last= Jessop and Wheatley|first= Bob and Russell|title= Karl Marx's Social and Political Thought, Volume 6|publisher= Routledge|date=1999|isbn= 9780415193283|page = 9|quote=Marx in the Grundrisse speaks of a time when systematic automation will be developed to the point where direct human labor power will be a source of wealth. The preconditions will be created by capitalism itself. It will be an age of true mastery of nature, a post-scarcity age, when men can turn from alienating and dehumanizing labor to the free use of leisure in the pursuit of the sciences and arts.}}</ref><ref>Marx, Theorien uber der Mehwert III, ed. K. Kautsky (Stuttgart, 1910), pp. 303-4.</ref> ความคิดเรื่องนี้ของมากซ์ถือว่าเป็นปัจเจกนิยมมูลวิวัติทีเดียว<ref name="Karl Marx on Equality">{{cite web|title='Karl Marx on Equality|last=Woods|first=Allen. W|url=http://philosophy.fas.nyu.edu/docs/IO/19808/Allen-Wood-Marx-on-Equality.pdf|publisher=New York University: Department of Philosophy|access-date=3 February 2016|quote=A society that has transcended class antagonisms, therefore, would not be one in which some truly universal interest at last reigns, to which individual interests must be sacrificed. It would instead be a society in which individuals freely act as the truly human individuals they are. Marx’s radical communism was, in this way, also radically individualistic.}}</ref>
 
มโนทัศน์เรื่อง "อาณาจักรแห่งอิสรภาพ" นี้ขนานไปกับความคิดเรื่องการยุติการแบ่งงานกันทำของเขา ซึ่งจะไม่มีความจำเป็นในสังคมที่มีการผลิตอัตโนมัติอย่างสูงและมีบทบาทงานจำกัด ในสังคมคอมมมิวนิสต์ ความจำเป็นและความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจจะยุติการกำหนดความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมและสังคม เมื่อความขาดแคลนถูกกำจัดไป<ref name="Clark1998"/> กรรมกรที่ถูกทำให้แปลกแยกจะหมดไปด้วย และบุคคลจะมีอิสระในการติดตามเป้าหมายส่วนตัว<ref name="Calhoun2002-20-23">{{cite book|author=Craig J. Calhoun|title=Classical sociological theory|url=https://books.google.com/?id=6mq-H3EcUx8C|access-date=5 March 2011|year=2002|publisher=Wiley-Blackwell|isbn=978-0-631-21348-2|pages=23}}</ref> นอกจากนี้ เชื่อว่าหลักการ "จากทุกคนตามที่สามารถ ให้ทุกคนตามที่ต้องการ" (from each according to his ability, to each according to his needs) จะเป็นจริงได้เพราะความขาดแคลนหมดไป<ref name="KS">{{cite book|last=Schaff|first=Kory|title=Philosophy and the problems of work: a reader|publisher=Rowman & Littlefield|year=2001|isbn=978-0-7425-0795-1|location=Lanham, Md|pages=[https://books.google.com/books?id=mdLh5EMehwgC&pg=PA224&dq=isbn=0742507955&source=gbs_search_r&cad=0_1&sig=ACfU3U2S6uiRNCig9mq_bY4yKB7877tY4A 224]}}</ref><ref name="WA">{{cite book|last=Walicki|first=Andrzej|title=Marxism and the leap to the kingdom of freedom: the rise and fall of the Communist utopia|publisher=Stanford University Press|year=1995|isbn=978-0-8047-2384-8|location=Stanford, Calif|page=95}}</ref>
 
=== การเมือง กฎหมายและวิธีการปกครอง ===