ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Limpaphat (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเติมสัญลักษณ์ใหม่
บรรทัด 2:
{{กล่องข้อมูล โรงเรียน
| name = โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราช
| former_name = โรงเรียนลานสกาประชาสรรค์<ref name="EMIS"/>
| logo = Emblem of Suankularb Nakhon2020.png
| logo_size = 200px
เส้น 8 ⟶ 9:
| address = 109 หมู่ที่ 11 ตำบลกำโลน [[อำเภอลานสกา]] [[จังหวัดนครศรีธรรมราช]] 80230<ref name="EMIS"/>
| coordinates= {{coord|8|22|24.0|N|99|48|14.3|E|display=inline,title}}
| established = 11 มิถุนายน พ.ศ. 2516 ({{อายุปีและวัน|1973|6|11}})<br>{{เทาเล็ก|สถาปนาสวนกุหลาบวิทยาลัยยกฐานะเป็นสวนฯนคร}}<br>3 มีนาคม พ.ศ. 2554 ({{อายุปีและวัน|2011|3|3}})<ref>[http://data.bopp-obec.info/emis/schooldata-view.php?School_ID=1080210784&Area_CODE=101712 วันสถาปนาโรงเรียน]. จากเว็บไซต์ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารการศึกษา สพม.12</ref>
| founder = [[กระทรวงศึกษาธิการ]]<ref name="EMIS"/>
| type = [[โรงเรียนรัฐบาล]]<ref name="EMIS"/>
เส้น 60 ⟶ 61:
วันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2554 [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ]] [[ชินวรณ์ บุณยเกียรติ|นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ]] ในขณะนั้น ได้ประกาศเปลี่ยนชื่อ '''โรงเรียนลานสกาประชาสรรค์''' เป็น[[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราช]] เพื่อให้เป็นโรงเรียนร่วมพัฒนากับ[[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]] [[กรุงเทพมหานคร]] <ref>สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, "หนังสือประกาศเปลี่ยนชื่อโรงเรียน">[http://sea12.go.th/sea12/index.php/projectsea12/184-lansaka การเปลี่ยนชื่อโรงเรียนลานสกาประชาสรรค์], 2554</ref> ในวันเดียวกันนี้โรงเรียนได้วางวางศิลาฤกษ์ป้ายนามโรงเรียนใหม่บริเวณด้านหน้าโรงเรียน โดยป้ายโรงเรียนได้รับแรงบันดาลใจมาจากเทือกเขาหลวงนครศรีธรรมราช
 
วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 โรงเรียนได้มีพิธีวางศิลาฤกษ์ ก่อสร้างแท่นประดิษฐานพระบรมราชานุสาวรีย์ และประกอบพิธีเททอง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ( รัชกาลที่ 5 ) โดยมี ฯพณฯ พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ [[ประธานองคมนตรี]] เป็นประธานในพิธี ต่อมา วันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2562 ฯพณฯ พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ [[ประธานองคมนตรี]]ได้เข้าเยี่ยมโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราช เป็นการส่วนตัว โดยมีคณะผู้บริหาร คณาจารย์ ตัวแทนนักเรียนให้การต้อนรับ
 
19 กันยายน พ.ศ. 2559 เมื่อได้จัดสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แล้วเสร็จ โรงเรียนจึงได้อัญเชิญจาก มทบ.41 ค่ายวชิราวุธ (อัญเชิญมาจากกรุงเทพฯมาแล้วนำมาพักที่ มทบ.41 ค่ายวชิราวุธ) มายังโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราช โดยในภาคกลางคืนมีงานสมโภชองค์พระรูป ร.5 และสมโภชกฐิน และในเช้าของวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2559 โรงเรียนได้ประดิษฐานพระบรมราชานุสาวรีย์ ลงบนแท่นประดิษฐานพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5
 
วันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 โรงเรียนได้ทำพิธีเปิดโรงอาหารใหม่ ขนาด 500 ที่นั่ง โดยมีนายอำเภอลานสกาเป็นประธานในพิธีเปิด นอกจากนี้โรงเรียนก็ได้รับงบประมาณปรับปรุงเรื่อยมาในด้านต่างๆ
 
== สัญลักษณ์ ==
=== สัญลักษณ์ประจำโรงเรียน ===
<center><gallery>
ไฟล์:Suankularb_Wittayalai_2425-2452.jpg|ตราประจำโรงเรียน พ.ศ. 2425 - 2452
เส้น 78 ⟶ 80:
[[ไฟล์:เพลงประจำโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย.jpg|thumb|200px|alt=|left|บันทึกต้นฉบับ เพลงประจำโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]]
 
* '''ตราประจำโรงเรียน''' ตราประจำโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราช เป็นตราประจำโรงเรียนที่ใช้ร่วมกันในกลุ่มสถาบันสวนกุหลาบ ทั้ง 11 สวน โดยที่ตราประจำโรงเรียน เป็นตราของ[[โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ]]ซึ่งได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้ตรานี้ เมื่อ พ.ศ. 2475 มีลักษณะของตราเป็นรูป[[หนังสือ]] ที่บริเวณหน้าปกได้ประดิษฐาน[[พระปรมาภิไทย]]ย่อ จ.ป.ร. และมี[[พระเกี้ยว]]ยอดอยู่ด้านบน ในหนังสือมี[[ขนนก]] [[ดินสอ]] [[ไม้บรรทัด]] ด้านขวามีช่อ [[กุหลาบ]] 4 ดอก อันหมายถึง หัวใจนักปราชญ์ คือ สุ จิ ปุ ริ หรือ [[ฟัง]] [[พูด]] [[อ่าน]] [[เขียน]] การเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพย่อมเกิดจาก การฟัง คิด สอบถาม และจดบันทึก จึงจะเรียนได้อย่างสัมฤทธิ์ผล ด้านล่างซ้ายของ หนังสือมี[[ริบบิ้น]]ผูกอยู่ที่ก้านกุหลาบมีข้อความอยู่ที่ริบบิ้น เขียนว่า “โรงเรียนหลวงสวนกุหลาบ” ด้านบน ปรากฏมีปรัชญาและคติพจน์ “สุวิชาโน ภว โหติ” ด้านล่างมีคำแปลว่า “ผู้รู้ดีเป็นผู้เจริญ” ตรานี้จึงประมวลความดีทั้งหลายรวบรวมไว้ในตราโรงเรียน จึงถือว่าเป็นสัญลักษณ์ที่ชาวสวนกุหลาบวิทยาลัยควรภาคภูมิใจ<ref name="B-SKNS">โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย,"ข้อมูลทั่วไป" [http://www.sk.ac.th/ เว็บไซต์ ส.ก.]</ref>
 
* '''[[พุทธศาสนสุภาษิต]][[ภาษาบาลี]][[ภาษาสันสกฤต|สันสกฤต]]''' ความว่า “สุวิชาโน ภวํ โหติ” อ่านว่า "สุ-วิ-ชา โน พะ-วัง โห-ติ" แปลเป็น[[ภาษาไทย]]ได้ว่า “ผู้รู้ดี เป็นผู้เจริญ”<br>
:ผู้รู้ดี คือ ผู้รู้และเข้าใจในสิ่งต่างๆได้ดี คือรู้อ่าน รู้คิด รู้เท่าทัน รู้ความและรู้คุณ <br>
:ผู้เจริญ คือผู้ที่เจริญด้วย ความประพฤติดี ดีพร้อมทั้งกาย วาจา และใจ กระทำแต่สิ่งที่ดีงาม สร้างสรรค์คำนึงถึงผลประโยชน์ ส่วนรวมมากกว่าส่วนตัว<ref name="B-SKNS" />
 
* '''อักษรย่อ ส.ก.นศ.''' สำหรับเครื่องแบบนักเรียนทุกชั้นปี อักษรย่อ ส.ก.นศ. สีกรมท่าหรือน้ำเงินเข้ม ประดับบริเวณอกข้างขวา
* '''ตราเสมาชมพู-ฟ้าอักษรย่อ ส.ก.นศ.''' สำหรับเป็นอักษรย่อของโรงเรียนภาษาอังกฤษ S.K.NS.ใช้ปักบนเครื่องแบบนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทุกชั้นปี ตราสัญลักษณ์เป็นด้ายโดยจะไม่ปักรูปทรงใบเสมาสีชมพูชื่อ-ฟ้าอย่างละครึ่งนามสกุล ประดับเหนือแต่ปักเพียงอักษรย่อโรงเรียน ส.ก.นศ. สีกรมท่าหรือน้ำเงินเข้ม ประดับบริเวณอกข้างขวา
 
* '''หลวงพ่อสวนกุหลาบ''' เป็น[[พระพุทธรูปปางมารวิชัย]] เป็นพระพุทธรูปที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้าง พระราชทานเป็นพระพุทธรูปประจำโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร เมื่อครั้งเป็นโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ ซึ่งรัชกาลที่ 5 ทรงพระมหากรุณาธิคุณให้ตั้งชื่อเป็นครั้งที่พระตำหนักสวนกุหลาบ ในพระบรมมหาราชวัง เมื่อ พ.ศ. 2424 เข้าใจว่าเมื่อโรงเรียนย้ายออกมาตั้งภายนอก พระบรมมหาราชวัง หลวงพ่อสวนกุหลาบคงได้เป็นพระพุทธรูปประจำโรงเรียนแต่เนื่องจากโรงเรียนมีพระพทธรูปประจำโรงเรียนเดิมอยู่แล้วจึงยังไม่มีการจัดสร้างในขณะนี้
* '''สัญลักษณ์เสมาชมพู-ฟ้า''' เป็นตราสัญลักษณ์ของโรงเรียนลำดับที่ 3 เดิมเป็นเข็มประดับชุดนักเรียน ต่อมาได้พัฒนาเรื่อยมา และเปลี่ยนมาเป็นการปักด้วยด้ายรูปทรงใบเสมาสีชมพู-ฟ้าอย่างละครึ่ง ประดับเหนืออักษรย่อ ส.ก.นศ. บนชุดนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายบริเวณอกข้างขวา
* '''สุภาพบุรุษสุภาพสตรีสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราช''' “สุภาพบุรุษสวนกุหลาบฯ” หมายถึง นักเรียนโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยที่ได้รับการปลูกฝังให้เป็นเป็นเลิศด้านคุณธรรม เป็นผู้นำที่มีคุณภาพ มีความสามารถทางวิชาการ มีวินัย ใส่ใจในระบอบประชาธิปไตย ยึดมั่นในสถาบันแห่งชาติ ไม่ละเลยในประโยชน์ส่วนรวม เอื้ออาทรต่อกันด้วยความรักความสามัคคี ประจักษ์ในพระคุณครู ร่วมเชิดชูเกียรติภูมิแห่งสวนกุหลาบ “เป็นผู้นำ รักเพื่อน นับถือพี่ เคารพครู กตัญญูพ่อแม่ ดูแลน้อง สนองคุณแผ่นดิน” เป็นสโลแกนช่วยให้จดจำได้ง่าย ต้องใส่ความเป็นสวนกุหลาบด้วยความภาคภูมิใจในเรื่องราวต่างๆ ของ “สวนกุหลาบฯ” เมื่อสิ่งต่างๆ สะสมอยู่ในตัวจึงจะเป็น “สุภาพบุรุษสุภาพสตรีสวนกุหลาบนครฯ” ที่สมบูรณ์<ref name="B-SKNS" />
 
* '''ภาวะผู้นำเด่น เน้นสิ่งแวดล้อม มีความพร้อมทักษะชีวิต''' เป็นเอกลักษณ์ประจำโรงเรียน
* '''[[กุหลาบจุฬาลงกรณ์|ดอกกุหลาบพันธุ์จุฬาลงกรณ์]]''' เป็นดอกไม้ประจำโรงเรียน กุหลาบจุฬาลงกรณ์ คือ ดอกกุหลาบพันธุ์หนึ่ง ไม่มีหนามที่ลำต้น มีขนาดดอกที่ใหญ่มาก สีชมพู และมีกลิ่นหอมจัด เกิดการการเพาะพันธุ์ของชาวยุโรปผู้หนึ่ง และชาวยุโรปผู้นั้นได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต ตั้งชื่อกุหลาบงามพันธุ์ที่เขาผสมขึ้นใหม่ว่า “King of Siam” ซึ่งเป็นดอกกุหลาบที่โปรดของพระราชชายาเจ้าดารารัศมี และทรงถวายนามกุหลาบนั้นว่า "กุหลาบจุฬาลงกรณ์"<ref name="B-SKNS" />
* '''[[อโศกน้ำ|ต้นอโศกน้ำ]]''' เป็นต้นไม้ประจำโรงเรียน อโศกน้ำ โสก หรือ โสกน้ำ (Ashoka tree ชื่อวิทยาศาสตร์: Saraca asoca; บางครั้งใช้ผิดเป็น Saraca indica) เป็นพืชในวงศ์ถั่ว (Fabaceae) วงศ์ย่อยราชพฤกษ์ (Caesalpinioideae) มีถิ่นกำเนิดในอินเดียและศรีลังกา เป็นไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 20 เมตร ใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ เรียงสลับ ยาว 10-15 เซนติเมตร ใบย่อย 1-7 คู่ เรียงสลับรูปใบหอก กว้าง 2-10 เซนติเมตร ยาว 5-30 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบมน รูปลิ่ม แผ่นใบหนา ดอกสีส้มหรือแดง ออกเป็นช่อแบบช่อเชิงหลั่นที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงเป็นหลอดเรียว ยาวประมาณ1-2 เซนติเมตร บริเวณปลายแยกเป็น 4 แฉก รูปไข่กลับแกมรูปขอบขนาน ปลายมน ผลแห้งแตก เป็นฝักทรงแบน กว้าง 2-6 เซนติเมตร ยาว 6-30 เซนติเมตร เมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีก เมล็ดรูปไข่ แบน มี 1-3 เมล็ด อโศกน้ำนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ยอดอ่อนและดอกสามารถรับประทานได้ โดยดอกมีรสเปรี้ยวอมฝาด ช่วยขับเสมหะ เปลือกต้นมีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย เช่น Escherichia coli, Pseudomonas aeruginosa และ Staphylococcus aureus ซึ่งภายในโรงเรียนจะมีต้นอโศกน้ำเติบโตให้เห็นภายในโรงเรียนมีจำนวนมาก
* '''เพลงประจำโรงเรียน''' เพลงประจำโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (บรรดาเรา) ประพันธ์ขึ้นตามพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คำร้องโดย หม่อมราชวงศ์เลื่อน สิงหรา ผู้เรียบเรียงคือ สุวัฒน์ เทียมหงษ์ ทำนองจากเพลงแขกต่อยหม้อ อัตราจังหวะสองชั้น เป็นเพลงไทยเดิมที่ใช้ประกอบการแสดง ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา มีจังหวะการเอื้อนทำนองโดยเฉพาะ โดยจะร้องในโอกาสสำคัญของโรงเรียนเท่านั้นโดยจะมีการการทำความเคราพเพลงประจำโรงเรียนก่อนเริ่มร้องเพลง นอกจากนี้ก็ยังมีเพลงสวนกุหลาบอื่นๆอีกมากมาย <ref name="TGV">{{cite web|title= เพลงประจำโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย |work=ไทยกู๊ดวิวดอตคอม |url=http://www.thaigoodview.com/node/17197|accessdate=15 มกราคม 2553|author=กาญจนา เตชะวณิชย์|date=18 ตุลาคม 2551}}</ref><ref>{{cite web|title= บทเพลงชาวสวนฯ : เพลงประจำโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย|work=เว็บไซต์โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย |url=http://www.sk.ac.th/index.php?option=com_content&task=view&id=163&Itemid=109|accessdate=15 มกราคม 2553}}</ref>
* '''สีประจำโรงเรียน''' [[สีชมพู|ชมพู]] - [[สีฟ้า|ฟ้า]]
** {{แถบสีสามกล่อง|#FB7E9C}} สีชมพู เป็นสีประจำวันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งตรงกับวันอังคาร ความหมายของสีชมพู คือ ความสุภาพอ่อนหวาน อ่อนโยน นอบน้อมเป็นสีแห่งความรัก ความเอื้อเฟื้อที่มีต่อบุลคลทั่วไป เป็นสีแห่งความเมตตา
บรรทัด 95:
** {{แถบสีสามกล่อง|#FB7E9C}}{{แถบสีสามกล่อง|#38B8F5}} สีชมพู-ฟ้า จึงมีความหมายถึง องค์ผู้พระราชทานกำเนิดโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และพระบรมราชินีนาถ ทั้งยังหมายถึง เป็นแหล่งที่มีความรัก ความสามัคคี ของผู้ที่มีความดีงาม มีความนึกคิดที่สูงส่ง<ref name="B-SKNS" />
 
* '''สุภาพบุรุษสุภาพสตรีสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราช''' “สุภาพบุรุษสวนกุหลาบฯ” หมายถึง นักเรียนโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยที่ได้รับการปลูกฝังให้เป็นเป็นเลิศด้านคุณธรรม เป็นผู้นำที่มีคุณภาพ มีความสามารถทางวิชาการ มีวินัย ใส่ใจในระบอบประชาธิปไตย ยึดมั่นในสถาบันแห่งชาติ ไม่ละเลยในประโยชน์ส่วนรวม เอื้ออาทรต่อกันด้วยความรักความสามัคคี ประจักษ์ในพระคุณครู ร่วมเชิดชูเกียรติภูมิแห่งสวนกุหลาบ '''''“เป็นผู้นำ รักเพื่อน นับถือพี่ เคารพครู กตัญญูพ่อแม่ ดูแลน้อง สนองคุณแผ่นดิน”''''' เป็นสโลแกนช่วยให้จดจำได้ง่าย ต้องใส่ความเป็นสวนกุหลาบด้วยความภาคภูมิใจในเรื่องราวต่างๆ ของ “สวนกุหลาบฯ” เมื่อสิ่งต่างๆ สะสมอยู่ในตัวจึงจะเป็น '''''“สุภาพบุรุษสุภาพสตรีสวนกุหลาบนครฯ”''''' ที่สมบูรณ์<ref name="B-SKNS" />
 
* '''ภาวะผู้นำเด่น เน้นสิ่งแวดล้อม มีความพร้อมทักษะชีวิต''' เป็นเอกลักษณ์ประจำโรงเรียน
 
* '''นักเรียนเป็นคนดี มีคุณธรรม นำวิชาการ สืบสานความเป็นไทย ก้าวไกลเทคโนโลยี สู่มาตรฐานสากล''' เป็นวิสัยทัศน์ / ปรัชญาประจำโรงเรียน
 
* '''[[กุหลาบจุฬาลงกรณ์|ดอกกุหลาบพันธุ์จุฬาลงกรณ์]]''' เป็นดอกไม้ประจำโรงเรียน กุหลาบจุฬาลงกรณ์ คือ ดอกกุหลาบพันธุ์หนึ่ง ไม่มีหนามที่ลำต้น มีขนาดดอกที่ใหญ่มาก สีชมพู และมีกลิ่นหอมจัด เกิดการการเพาะพันธุ์ของชาวยุโรปผู้หนึ่ง และชาวยุโรปผู้นั้นได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต ตั้งชื่อกุหลาบงามพันธุ์ที่เขาผสมขึ้นใหม่ว่า “King of Siam” ซึ่งเป็นดอกกุหลาบที่โปรดของพระราชชายาเจ้าดารารัศมี และทรงถวายนามกุหลาบนั้นว่า "กุหลาบจุฬาลงกรณ์"<ref name="B-SKNS" />
 
* '''[[อโศกน้ำ|ต้นอโศกน้ำ]]''' เป็นต้นไม้ประจำโรงเรียน อโศกน้ำ โสก หรือ โสกน้ำ (Ashoka tree ชื่อวิทยาศาสตร์: Saraca asoca; บางครั้งใช้ผิดเป็น Saraca indica) เป็นพืชในวงศ์ถั่ว (Fabaceae) วงศ์ย่อยราชพฤกษ์ (Caesalpinioideae) มีถิ่นกำเนิดในอินเดียและศรีลังกา เป็นไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 20 เมตร ใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ เรียงสลับ ยาว 10-15 เซนติเมตร ใบย่อย 1-7 คู่ เรียงสลับรูปใบหอก กว้าง 2-10 เซนติเมตร ยาว 5-30 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบมน รูปลิ่ม แผ่นใบหนา ดอกสีส้มหรือแดง ออกเป็นช่อแบบช่อเชิงหลั่นที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงเป็นหลอดเรียว ยาวประมาณ1-2 เซนติเมตร บริเวณปลายแยกเป็น 4 แฉก รูปไข่กลับแกมรูปขอบขนาน ปลายมน ผลแห้งแตก เป็นฝักทรงแบน กว้าง 2-6 เซนติเมตร ยาว 6-30 เซนติเมตร เมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีก เมล็ดรูปไข่ แบน มี 1-3 เมล็ด อโศกน้ำนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ยอดอ่อนและดอกสามารถรับประทานได้ โดยดอกมีรสเปรี้ยวอมฝาด ช่วยขับเสมหะ เปลือกต้นมีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย เช่น Escherichia coli, Pseudomonas aeruginosa และ Staphylococcus aureus ซึ่งภายในโรงเรียนจะมีต้นอโศกน้ำเติบโตให้เห็นภายในโรงเรียนมีจำนวนมาก
 
* '''เพลงประจำโรงเรียน''' เพลงประจำโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (บรรดาเรา) ประพันธ์ขึ้นตามพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คำร้องโดย หม่อมราชวงศ์เลื่อน สิงหรา ผู้เรียบเรียงคือ สุวัฒน์ เทียมหงษ์ ทำนองจากเพลงแขกต่อยหม้อ อัตราจังหวะสองชั้น เป็นเพลงไทยเดิมที่ใช้ประกอบการแสดง ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา มีจังหวะการเอื้อนทำนองโดยเฉพาะ โดยจะร้องในโอกาสสำคัญของโรงเรียนเท่านั้นโดยจะมีการการทำความเคราพเพลงประจำโรงเรียนก่อนเริ่มร้องเพลง นอกจากนี้ก็ยังมีเพลงสวนกุหลาบอื่นๆอีกมากมาย <ref name="TGV">{{cite web|title= เพลงประจำโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย |work=ไทยกู๊ดวิวดอตคอม |url=http://www.thaigoodview.com/node/17197|accessdate=15 มกราคม 2553|author=กาญจนา เตชะวณิชย์|date=18 ตุลาคม 2551}}</ref><ref>{{cite web|title= บทเพลงชาวสวนฯ : เพลงประจำโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย|work=เว็บไซต์โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย |url=http://www.sk.ac.th/index.php?option=com_content&task=view&id=163&Itemid=109|accessdate=15 มกราคม 2553}}</ref>
 
* '''ฟอนต์เอสเค นคร (Font SK NAKHON)''' ฟอนต์ประจำโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราช จัดทำขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองเนื่องในโอกาสครบรอบ 1 ทศวรรษสวนนคร 3 มีนาคม 2564 ฟอนต์ได้รับแรงบัลดาลใจมาจากอักษรประดิษฐ์บนตราประจำโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ลำดับที่ 4 ความว่า “สุวิชาโน ภว โหติ” “ผู้รู้ดีเป็นผู้เจริญ” และรูปแบบฟอนต์ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยยังคงเอกลักษณ์ความเป็นอักษรประดิษฐ์เดิมและเพิ่มเติมอักขระเพื่อให้สามารถนำไปใช้งานได้
 
=== สิ่งเคารพสักการะ ===
* '''หลวงพ่อสวนกุหลาบ''' เป็น[[พระพุทธรูปปางมารวิชัย]] เป็นพระพุทธรูปที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้าง พระราชทานเป็นพระพุทธรูปประจำโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร เมื่อครั้งเป็นโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ ซึ่งรัชกาลที่ 5 ทรงพระมหากรุณาธิคุณให้ตั้งชื่อเป็นครั้งที่พระตำหนักสวนกุหลาบ ในพระบรมมหาราชวัง เมื่อ พ.ศ. 2424 เข้าใจว่าเมื่อโรงเรียนย้ายออกมาตั้งภายนอก พระบรมมหาราชวัง หลวงพ่อสวนกุหลาบคงได้เป็นพระพุทธรูปประจำโรงเรียนแต่เนื่องจากโรงเรียนมีพระพทธรูปประจำโรงเรียนเดิมอยู่แล้วจึงยังไม่มีการจัดสร้างในขณะนี้ต่อมา
''ในปัจจุบันเนื่องด้วยโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยนครศรีธรรมราชถูกยกฐานะจากโรงเรียนลานสกาประชาสรรค์จึงมีพระพุทธรูปประจำโรงเรียนเดิมอยู่ จึงยังไม่มีการจัดสร้างหลวงพ่อสวนกุหลาบในขณะนี้''
 
* '''พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราช'''[[ไฟล์:ร.5 สวนกุหลาบนครฯ.jpg|thumb|พระบรมราชานุเสาวรีย์รัชกาลที่ 5]]
ดำเนินการจัดสร้าง ตามแบบกรมศิลปากร เป็นพระบรมรูปราชานุสาวรีย์หล่อด้วยสำริด ขนาดหนึ่งเท่าครึ่งของพระองค์จริง มีลักษณะพระราชอิริยาบถประทับยืนเต็มพระองค์ ขนาดหนึ่งเท่าครึ่งของพระองค์จริง ฉลองพระองค์จอมพลทหารบกภูษาโยง พระหัตถ์ซ้ายทรงถือพระแสงกระบี่และถุงพระหัตถ์ ความสูง 285 เซนติเมตร น้ำหนัก 800 กิโลกรัม โดยถูกจัดสร้างมีรูปแบบเดียวกับ[[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เพชรบูรณ์]] {{คำพูด|[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว|พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระปิยมหาราช]] [[พระมหากษัตริย์ไทย|พระมหากษัตริย์]] พระองค์ที่ 5 แห่ง[[ราชวงศ์จักรี|พระบรมราชจักรีวงศ์]] [[พระราชโอรส]] ใน [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] และ [[สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี]]
ทรงพระราชสมภพ วันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2396 เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411 เสด็จสวรรคต วันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 ทรงตั้งมั่นอยู่ใน[[ทศพิธราชธรรม]] กอปรด้วยพระ[[เมตตาธรรม]] และพระ[[คุณธรรม]]อันประเสริฐ ทรงประกอบพระราชกรณียกิจนานัปการ สร้างความเจริญแก่ประเทศชาติเป็นอเนกประการ ทางด้าน[[การปกครอง]] [[การเลิกทาส]] [[เศรษฐกิจ|การเศรษฐกิจ]] [[การคมนาคม]] [[การสาธารณสุข]] [[ศาสนา|การศาสนา]] ทรงส่งเสริม[[การศึกษา]] และวางรากฐานการศึกษาอย่างเป็นระบบ ทรงจัดตั้ง[[โรงเรียน]]เพื่อพสกนิกรได้มีโอกาสศึกษาอย่างเสมอภาค ดังพระราชปณิธาน
'''‘เจ้านายราชตระกูล ตั้งแต่ลูกฉันเป็นต้นไป ตลอดจนถึงราษฎรที่ต่ำสุด จะให้ได้มีโอกาสเล่าเรียนได้เสมอกัน ไม่ว่าเจ้า ว่าขุนนาง ว่าไพร่ เพราะฉะนั้น จึงพอบอกได้ว่า การเล่าเรียนในบ้านเมืองเรานี้ จะเป็นข้อสำคัญข้อที่หนึ่ง ซึ่งฉันจะอุตส่าห์จัดขึ้นให้เจริญจงได้’''' [[ข้าราชการ]] ผู้ปกครอง [[ศิษย์เก่า]] และ[[นักเรียน]] โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราช สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น จึงพร้อมใจกันสร้าง[[พระบรมราชานุสาวรีย์]] เพื่อสักการะ เฉลิมพระเกียรติ ประกาศ[[เกียรติคุณ]] ให้แผ่ไพศาล ตราบกาลนาน}}
 
== ผู้บริหาร ==
เส้น 154 ⟶ 176:
== การศึกษา ==
=== มัธยมศึกษาตอนต้น ===
การรับนักเรียนเข้าศึกษาต่อในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จะรับสมัครนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เข้ารับการสอบข้อเขียน โดยมี 23 หลักสูตรประเภท 7 ห้องเรียนดังนี้
* ประเภทหลักสูตรภาคปกติโครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ (Special Program) จำนวน 71 ห้องเรียน
* หลักสูตรโครงการประเภทห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์คุณภาพ (SpecialQuality ProgramClassroom) จำนวน 1 ห้องเรียน
* ประเภทห้องเรียนปกติ จำนวน 5 ห้องเรียน
 
'''กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโครงการห้องเรียนวิทยาศาสตร์ (Special Program)'''
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่กำหนดให้นักเรียนในโครงการห้องเรียนวิทยาศาสตร์เข้าร่วมแบ่งเป็น 2 กิจกรรมย่อย คือ
* กิจกรรมที่ต้องจัดร่วมกับนักเรียนในโรงเรียน
เส้น 164 ⟶ 187:
 
=== มัธยมศึกษาตอนปลาย ===
การรับนักเรียนเข้าศึกษาต่อในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จะให้โควตากับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เดิมของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราชที่ผ่านเกณฑ์ตามที่โรงเรียนกำหนดก่อน จำนวน 130 คน และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ทั่วไป จำนวน 30 คน เข้ารับการสอบข้อเขียนและสัมภาษณ์ โดยมี 34 หลักสูตรดังนี้
* หลักสูตรห้องเรียนคุณภาพแผนการเรียนวิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ (Science-math Quality Classroom) จำนวน 1 ห้อง
 
* หลักสูตรแผนการเรียนวิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ปกติ จำนวน 21 ห้อง
* หลักสูตรแผนการเรียนศิลป์ - คำนวณ (ภาษาอังกฤษ - คณิตศาสตร์) จำนวน 1 ห้อง
* หลักสูตรแผนการเรียนศิลป์ - ภาษาไทย - สังคมศึกษา จำนวน 1 ห้อง
เส้น 242 ⟶ 265:
* '''กลุ่มอาคารห้องน้ำนักเรียน''' ห้องน้ำสำหรับนักเรียนในโรงเรียนมีจำนวน 3 แห่ง ได้แก่ ห้องน้ำสำหรับนักเรียนหญิงตั้งอยู่ด้านหลังหอประชุมทางด้านทิศใต้ ห้องน้ำนักเรียนชายตั้งอยู่บริเวณสวนป่าทางด้านทิศตะวันตก และห้องน้ำนักเรียนชาย/หญิง ด้านหลังอาคารเรียน 4 หรือด้านข้างของห้องโสตฯใหม่ ทางด้านทิศเหนือ<ref>[https://www.facebook.com/notes/suankularb-wittayalai-nakhon-si-thammarat/สถานที่ตั้ง-อาคาร-และ-สถานที่ต่างๆ-ภายในโรงเรียน/2524417727569722/ ข้อมูลสถานที่ จากแฟนเพจหลักของโรงเรียน]</ref>
 
===''' สถานที่สำคัญภายในโรงเรียน ==='''
* '''พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราช'''[[ไฟล์:ร.5 สวนกุหลาบนครฯ.jpg|thumb|พระบรมราชานุเสาวรีย์รัชกาลที่ 5]]
เป็นพระบรมรูปประทับยืนเต็มพระองค์ ขนาดหนึ่งเท่าครึ่งของพระองค์จริง {{คำพูด|[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว|พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระปิยมหาราช]] [[พระมหากษัตริย์ไทย|พระมหากษัตริย์]] พระองค์ที่ 5 แห่ง[[ราชวงศ์จักรี|พระบรมราชจักรีวงศ์]] [[พระราชโอรส]] ใน [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] และ [[สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี]]
ทรงพระราชสมภพ วันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2396 เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411 เสด็จสวรรคต วันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 ทรงตั้งมั่นอยู่ใน[[ทศพิธราชธรรม]] กอปรด้วยพระ[[เมตตาธรรม]] และพระ[[คุณธรรม]]อันประเสริฐ ทรงประกอบพระราชกรณียกิจนานัปการ สร้างความเจริญแก่ประเทศชาติเป็นอเนกประการ ทางด้าน[[การปกครอง]] [[การเลิกทาส]] [[เศรษฐกิจ|การเศรษฐกิจ]] [[การคมนาคม]] [[การสาธารณสุข]] [[ศาสนา|การศาสนา]] ทรงส่งเสริม[[การศึกษา]] และวางรากฐานการศึกษาอย่างเป็นระบบ ทรงจัดตั้ง[[โรงเรียน]]เพื่อพสกนิกรได้มีโอกาสศึกษาอย่างเสมอภาค ดังพระราชปณิธาน
'''‘เจ้านายราชตระกูล ตั้งแต่ลูกฉันเป็นต้นไป ตลอดจนถึงราษฎรที่ต่ำสุด จะให้ได้มีโอกาสเล่าเรียนได้เสมอกัน ไม่ว่าเจ้า ว่าขุนนาง ว่าไพร่ เพราะฉะนั้น จึงพอบอกได้ว่า การเล่าเรียนในบ้านเมืองเรานี้ จะเป็นข้อสำคัญข้อที่หนึ่ง ซึ่งฉันจะอุตส่าห์จัดขึ้นให้เจริญจงได้’''' [[ข้าราชการ]] ผู้ปกครอง [[ศิษย์เก่า]] และ[[นักเรียน]] โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราช สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น จึงพร้อมใจกันสร้าง[[พระบรมราชานุสาวรีย์]] เพื่อสักการะ เฉลิมพระเกียรติ ประกาศ[[เกียรติคุณ]] ให้แผ่ไพศาล ตราบกาลนาน}}
* '''สถานเชิญธง อโศกน้ำ''' ปัจจุบันได้รับการอนุเคราะห์การจัดสร้างขึ้นใหม่โดยเจ้าของศูนย์การค้าสำเพ็งเมืองคอน นาง[[สมจินต์ จ่างทอง]] เพื่อเป็นเสาเชิญธงชาติไทย โดยปัจจุบันยังไม่ได้จัดสร้างเป็นสามเสาเพื่อไว้เชิญธงประจำโรงเรียน สีชมพู-ฟ้า
* '''ห้องประชุมสรวงศัทธา''' ตั้งอยู่ชั้น 1 อาคาร 4 เดิมเรียกห้องประชุมแห่งนี้ว่าห้องโสตทัศนศึกษา(ใหม่) เนื่องจากเป็นห้องประชุมที่สร้างขึ้นขึ้นใหม่
เส้น 263 ⟶ 282:
 
=== แผนการพัฒนา ===
ปัจจุบันโรงเรียนได้สร้างอาคารโรงอาหารหลังใหม่ จำนวน 500 ที่นั่ง แล้วเสร็จในปี 2562 ''เปิดใช้งานแล้ว''
 
แผนการพัฒนารั้วโรงเรียนใหม่โดยการนำสีเหลืองแดงชมพูฟ้ามาใช้เพื่อหลอมรวมความเป็นหนึ่งเดียวลานสกาประชาสรรค์-สวนนคร
เส้น 278 ⟶ 297:
** '''วันรับขวัญเสมา''' นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
* '''วันไหว้ครู''' ทำพานไหว้ครู และประกวดพานไหว้ครู เพื่อแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อคุณครู
* '''วันรำลึกลานสกาประชาสรรค์''' ทุกๆวันที่ 11 มิถุนายน และ 8 สิงหาคม ของทุกปี
* '''พระราชพิธีวันปิยมหาราชานุสรณ์''' ทุกๆวันที่ 23 ตุลาคม ของทุกปี
*'''พระราชพิธีวันวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว''' ทุกๆวันที่ 28 กรกฎาคม ของทุกปี
*'''พระราชพิธีวันวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดาฯ''' ทุกๆวันที่ 3 มิถุนายน ของทุกปี
*'''พระราชพิธีวันแม่แห่งชาติ''' ทุกๆวันที่ 12 สิงหาคม ของทุกปี
* '''วันสวนนครวิชาการ''' วันนำเสนอผลงาน และผลการปฏิบัติงานของแต่ละชุมนุม
* '''กุหลาบสายสัมพันธ์ เกษมสันต์วันเกษียณ''' คุณครูที่เกษียณอายุราชการและคุณครูที่ลาออกก่อนเกษียณอายุราชการ
* '''วันกุหลาบลาสวน''' นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 และ 3
** '''วันจากเหย้า''' นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
** '''วันปัจฉิมนิเทศ''' นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
* '''วันต่อต้านยาเสพติด''' ทุกวันที่ 26 มิถุนายนของทุกปีโดยมีกิจกรรมต่างๆมากมายตลอดวัน ''ปัจจุบันได้ลดบทบาทของกิจกรรมลง''
* กิจกรรม'''ประเพณีให้ทานไฟ'''และทำบุญตักบาตรเนื่องในวันขึ้นปีใหม่
* '''ลานสกาสัมพันธ์''' การแข่งขันกีฬาลานสกาสัมพันธ์
* กิจกรรมแข่งขันกีฑาสีภายในโรงเรียน '''"สวนนครเกมส์"''' หลังจากเปลี่ยนชื่อมาเป็นสวนนครจึงได้ปรับปรุงการจัดการแข่งขัน โดยได้ยุบสีเขียว และน้ำเงิน เหลือไว้เพียงสีเหลือง(ศรเพลิง) และสีแดง(นักรบ) ซึ่งเป็นสีประจำโรงเรียนลานสกาประชาสรรค์ไว้
เส้น 312 ⟶ 331:
'''การแข่งขันกรีฑาสวนกุหลาบสัมพันธ์'''
กลุ่มโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ได้ร่วมกันจัด ''“การแข่งขันกรีฑาสวนกุหลาบสัมพันธ์”'' ขึ้นเป็นประจำทุกปี ณ สนามเมนสเตเดียม [[ธรรมศาสตร์]] [[ศูนย์รังสิต]]
 
''ดูบทความหลักที่ [[กลุ่มโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย#กิจกรรมร่วมของกลุ่มโรงเรียน|กิจกรรมร่วมของกลุ่มโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]]''
 
== สถาบันสวนกุหลาบ ==
เส้น 406 ⟶ 423:
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
*[https://www.facebook.com/SuanNakhon facebook official fanpage โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราช]
* [http://www.skns.ac.th เว็บไซต์โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราช]
*[https://sites.google.com/skns.ac.th/skns-alumni/หนาแรก?authuser=0/ชมรมศิษย์เก่าสวนนคร/ ชมรมศิษย์เก่าโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราช]