ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มิดิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:NoteNamesFrequenciesAndMidiNumbers v2.svg|thumb|ชื่อโน้ตและหมายเลขโน้ตมิดิ]]
 
'''มิดิ''' หรือ '''มาตรฐานการประสานเครื่องดนตรีแบบดิจิทัล''' <ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติ ราชบัณฑิตยสถาน] (สืบค้นออนไลน์)</ref> ({{lang-en|Music Instrument Digital Interface: MIDI}}) เป็น[[โพรโทคอล]]มาตรฐานที่คิดค้นขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2523<ref>http://mustech.net/2006/09/15/midi-standards-a-brief-history-and-explanation</ref> โดยเป็นระบบการติดต่อสื่อสารทางดนตรี ของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทางดนตรี เช่น คอมพิวเตอร์ [[ซินธิไซเซอร์]] ซีเควนเชอร์ ซาวด์โมดูล [[แซมเพลอร์]] ซึ่งใช้สัญญาณไฟฟ้าแบบดิจิตอล ในการส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อ โดยจะมีความหมายเป็นโน้ตดนตรี และค่าการควบคุมลักษณะเสียงต่าง ๆ
 
ไฟล์ MIDI ไม่ได้มีการเก็บเสียงดนตรีใด ๆ ไว้เหมือนอย่างเทปเพลงหรือซีดีเพลง ข้อมูลทั้งหมดจะอยู่ในรูปของคำสั่งที่จะไปสั่งเครื่อง ดนตรีว่า ให้เปล่งเสียงโน้ตตัวใด(Note ON), ด้วยระดับความดังแค่ใหน(Velocity) และคำสั่งอื่น ๆ ตามคุณสมบัติเฉพาะของเครื่องดนตรีแต่ละชนิด ด้วยเหตุที่เป็นไฟล์คำสั่งนี่เองทำให้มันมีขนาดที่เล็กมาก ๆ แผ่นดิสก์ 3.5 นิ้วเพียงแผ่นเดียวก็สามารถเก็บไฟล์ MIDI ได้หลายสิบเพลง และจากความที่มันเป็นไฟล์คำสั่งแบบดิจิตอลนี่เอง นักคอมพิวเตอร์จึงสามารถนำข้อมูลดิจิตอลนี้มาพัฒนาด้วย จนในที่สุดทั้งคอมพิวเตอร์และเครื่องดนตรีก็สื่อสารกันได้อย่างสมบูรณ์โดย ผ่านระบบ MIDI นี่เอง
บรรทัด 18:
จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2534 ได้มีการประกาศมาตรฐานเกี่ยวกับการใช้ชุดคำสั่ง MIDI ออกมาเป็นครั้งแรก โดยมีชื่อเรียกว่า
The General MIDI System Level 1 หรือเรียกกันทั่วไปว่า General MIDI (GM)
อันเกิดจากความร่วมมือระหว่างกลุ่มผู้ผลิตใน[[ญี่ปุ่น]]ที่เรียกตัวเองว่า Japanese MIDI Standards Committee
(JMSC) กับกลุ่มผู้ผลิตทาง[[สหรัฐอเมริกา|อเมริกา]]ที่ชื่อว่า American MIDI Manufacturers Association (MMA)
 
มาตรฐาน GM ประกอบด้วยสาระสำคัญเรื่องการกำหนดมาตรฐานขั้นต่ำของการรองรับคำสั่ง MIDI
บรรทัด 27:
โดยหมายเลขของเครื่องดนตรีแต่ละชนิดจะเรียกว่า Patch และมีการแบ่ง Patch ออกเป็นกลุ่ม ๆ ดังต่อไปนี้:
 
# [[Piano]]
# Chromatic Percussion
# Organ
บรรทัด 44:
# Sound Effects
 
ในแต่ละกลุ่มยังแบ่งย่อย ๆ ไปอีกกลุ่มละ 8 ชนิด เช่น ในกลุ่มของ[[เปียโน]] ก็จะมีเสียงของเปียโนชนิดต่าง ๆ อีก 8 ชนิด
หรือในกลุ่มของ Brass ก็ประกอบด้วย [[ทรัมเป็ต]], [[ทรอมโบน]] และเครื่องเป่าอื่น ๆ อีกรวม 8 ชนิด เป็นต้น
 
เมื่อมาตรฐาน GM ออกมา ก็ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลาย จนในที่สุดเครื่องดนตรีและอุปกรณ์ควบคุมต่าง ๆ
จากบริษัทผู้ผลิตทั่วโลกก็สามารถนำมาผสมผสานและเล่นร่วมกันได้ในระบบ MIDI โดยอาศัยมาตรฐานนี้,
และนอกจากการใช้งานกับเครื่องดนตรีแล้ว มาตรฐานนี้ก็ถูกนำมาใช้ในวงการ[[คอมพิวเตอร์]]ด้วย
เช่น[[การ์ดเสียง]]คอมพิวเตอร์ที่ระบุว่ารองรับมาตรฐาน GM ก็จะสามารถเล่นเพลงที่บันทึกมาจากเครื่องดนตรี
หรือแต่งเพลงแล้วนำไปเล่นกับเครื่องดนตรีในมาตรฐาน GM ได้ โดยไม่มีปัญหาเรื่องเสียงของเครื่องดนตรีไม่ตรงกัน
 
บรรทัด 65:
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.musician.in.th/music-knowlage/27-sound-recording-SoundSystem/195-MIDI.html Midi คืออะไร www.musician.in.th]
 
[[หมวดหมู่:ดนตรี]]
[[หมวดหมู่:บัสอนุกรม]]
{{โครง}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/มิดิ"