ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แอ่งสินปุน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
เพิ่มอ้างอิง
 
บรรทัด 1:
'''แอ่งสินปุน''' เป็นแอ่งในยุคปลาย[[ยุคครีเตเชียส]] (Cretaceous) ต่อ[[ยุคเทอร์เชียรี]] (Tertiary period) (100-100–15 ล้านปี) โดยอยู่ในอาณาเขต ตำบลท่ายาง [[อำเภอทุ่งใหญ่]] [[จังหวัดนครศรีธรรมราช]] และ ตำบลสินปุน [[อำเภอเขาพนม]] [[จังหวัดกระบี่]] โดยภายในแอ่งมีถ่านหินคุณภาพ ลิกไนส์[[ลิกไนต์]] โดยมีปริมาณสำรองประมาณ 50 ล้านเมกตริกตันเมตริกตัน แต่ในบางที่รายงานว่ามีมากถึง 91 ล้านเมกตริกตันเมตริกตัน
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''แอ่งสินปุน''' เป็นแอ่งในยุคปลาย[[ยุคครีเตเชียส]] (Cretaceous) ต่อ[[ยุคเทอร์เชียรี]] (Tertiary period) (100-15 ล้านปี) โดยอยู่ในอาณาเขต ตำบลท่ายาง [[อำเภอทุ่งใหญ่]] [[จังหวัดนครศรีธรรมราช]] และ ตำบลสินปุน [[อำเภอเขาพนม]] [[จังหวัดกระบี่]] โดยภายในแอ่งมีถ่านหินคุณภาพ ลิกไนส์ โดยมีปริมาณสำรองประมาณ 50 ล้านเมกตริกตัน แต่ในบางที่รายงานว่ามีมากถึง 91 ล้านเมกตริกตัน
 
=== ประวัติการสำรวจและการพัฒนาแอ่งสินปุน ===
2 กรกฎาคม [[พ.ศ. 2544]] ในการประชุมคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ ครั้งที่ 3/2544 (ครั้งที่ 84) ได้มีมติมอบหมายให้ สำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (สพช.) รับไปหารือร่วมกับกรมทรัพยากรธรณี และการไฟฟ้าฝ่ายผลิต (กฟผ.) เกี่ยวกับแหล่งถ่านหินเวียงแหง งาว สินปุน และกระบี่ เพื่อพิจารณาให้มีการนำมาใช้ประโยชน์ต่อไป
 
28 สิงหาคม 2544 สพช. ได้มีการประชุมหารือกับกรมทรัพยากรธรณี และ กฟผ. เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาแหล่งถ่านหินดังกล่าว โดย สพช. และ กฟผ. มีข้อเสนอให้มีการทบทวนมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2535 เพื่อคืนแหล่งถ่านหินวียงเวียงแหงและแหล่งสะบ้าย้อยให้ กฟผ. เข้าไปพัฒนาเพื่อนำมาใช้ในการผลิตไฟฟ้า โดยไม่ต้องมีการเปิด{{linktext|ประมูล}} แต่ให้ กฟผ. คืนแหล่งงาว และแหล่งสินปุน ให้แก่กรมทรัพยากรธรณีเพื่อนำไปเปิดประมูลต่อไป
 
17 มิถุนายน 2551 กรมทรัพยากรธรณี และกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ได้หารือร่วมกันเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งแร่ถ่านหินเพื่อแก้ไขวิกฤตการณ์พลังงาน โดยเห็นชอบให้เร่งรัดนำถ่านหินในเขตสำหรับดำเนินการสำรวจ การทดลอง การศึกษา หรือการวิจัยเกี่ยวกับแร่ มาใช้เป็นพลังงานทดแทนน้ำมัน[[เชื้อเพลิง]]เพื่อแก้ไขความเดือดร้อนของประชาชน และเห็นควรนำเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณายกเลิกมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับแนวทางพัฒนาแห่งถ่านหินจำนวน 4 ฉบับ คือ เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2531, วันที่ 5 มิถุนายน 2533, วันที่ 10 มีนาคม 2535 และวันที่ 25 กันยายน 2544 ที่กำหนดให้นำแหล่งถ่านหินในเขตสำหรับดำเนินการสำรวจ การทดลอง การศึกษาหรือการวิจัยเกี่ยวกับแร่จำนวน 8 พื้นที่ ได้แก่ แอ่งสินปุน, แอ่งเคียนซา, แอ่งวังเหนือ, แอ่งแจ้ห่ม-เมืองปาน, แอ่งงาว, แอ่งเสริมงาม, แอ่งเชียงม่วน และแอ่งแม่ทะ ไปเปิดประมูลให้เอกชนเข้าไปลงทุนสำรวจและพัฒนา โดยยังคงสงวนพื้นที่แหล่งถ่านหินแอ่งเวียงแหง [[จังหวัดเชียงใหม่]] และแอ่งสะบ้าย้อย [[จังหวัดสงขลา]] ไว้ให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิต พัฒนาเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าต่อไป<ref>{{Cite news|url=https://www.isranews.org/community/comm-scoop-documentary/3696-เปิดรายงานกรรมการสิทธิ์ฯ-“ชะตากรรมชาวบ้านแหง”-ใต้อุ้งมือนักการเมือง.html |title=เปิดรายงานกรรมการสิทธิ์ฯ “ชะตากรรมชาวบ้านแหง” ใต้อุ้งมือนักการเมือง ! |publisher=สำนักข่าวอิศรา |date=2011-09-25 |editor=พวงทิพย์ กลิ่นจันทร์ |accessdate=2021-02-03}}</ref>
 
ในประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม (อก.) ฉบับลงวันที่ 9 ตุลาคม 2527 ได้ประกาศให้แอ่งสินปุน จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพถ่านหิน
 
== อ้างอิง ==
{{ต้องการรายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานในประเทศไทย]]