ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โอวาทปาติโมกข์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 9074249 สร้างโดย 184.22.226.5 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 4:
 
'''โอวาทปาฏิโมกข์''' เป็นหลักคำสอนสำคัญของ[[พระพุทธศาสนา]] เป็น "ปาติโมกข์" ที่พระพุทธองค์ทรงแสดงตลอดปฐมโพธิกาล คือ 20 พรรษาแรก เฉพาะครั้งแรกในวันเพ็ญเดือนมาฆะ (เดือน 3) หลังจากตรัสรู้แล้ว 9 เดือน เป็นการแสดงปาติโมกข์ที่ประกอบด้วยองค์ 4 เรียกว่า ''[[จาตุรงคสันนิบาต]]'' ซึ่งมีเพียงครั้งเดียวในพระศาสนาของพระพุทธเจ้าองค์หนึ่งๆ หรือจะเรียกว่าเป็นการประกาศตั้งศาสนาก็ได้ ([[อรรถกถา]]แสดงไว้ว่า พระพุทธเจ้าทรงแสดง "โอวาทปาติโมกข์" นี้ ด้วยพระองค์เอง ท่ามกลางที่ประชุมสงฆ์ตลอด 20 พรรษาแรก หลังจากนั้นทรงบัญญัติให้พระสงฆ์แสดง "อาณาปาติโมกข์" แทน) {{clear|left}}
 
== โอวาทปาฏิโมกข์ ==
นำ (หันทะ มะยัง โอวาทะปาติโมกขะคาถาโย ภะณามะ เส)
 
สัพพะปาปัสสะ อะกะระณัง,
เส้น 49 ⟶ 46:
เอตัง พุทธานะสาสะนัง,
ธรรม ๖ อย่างนี้ เป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย,
 
ปัจฉิมพุทโธวาทปาฐะ
 
นำ (หันทะ มะยัง ปัจฉิมะพุทโธวาทะปาฐัง ภะณามะ เส)
 
หันทะทานิ ภิกขะเว,
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ เราขอเตือน,
 
อามันตะยามิโว,
ท่านทั้งหลายว่า
 
วะยะธัมมา สังขารา,
สังขารทั้งหลายมีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา,
 
อัปปะมาเทนะ สัมปาเทถะ,
ท่านทั้งหลาย จงทำความไม่ประมาทให้ถึงพร้อมเถิด,
 
อะยัง ตะถาคะตัสสะ
นี้เป็นพระวาจาในครั้งสุดท้าย ของพระ-
 
ปัจฉิมาวาจา.
ตาถาคต.
 
ปัญจอภิณหปัจจเวขณปาฐะ
 
ชะราธัมโมมหิ, (อ่านว่า ธัม-โมม-หิ)
เรามีความแก่เป็นธรรมดา,
 
ชะรัง อะนะตีโต (ตา)
ล่วงความแก่ไปไม่ได้,
 
พะยาธิธัมโมมหิ,
เรามีความเจ็บไข้เป็นธรรมดา,
 
พะยาธิง อะนะตีโต, (ตา)
ล่วงความเจ็บไข้ไปไม่ได้,
 
มะระณะธัมโมมหิ,
เรามีความตายเป็นธรรมดา,
 
มะระณัง อะนะตีโต (ตา),
ล่วงความตายไปไม่ได้,
 
สัพเพหิ เม ปิเยหิ มะนาเปหิ,
เราละเว้นเป็นต่าง ๆ คือว่า พลัดพราก
 
นานาภาโว วินาภาโว,
ของรัก ของเจริญใจทั้งหลายทั้งปวง,
 
กัมมัสสะโกมหิ,
เราเป็นผู้มีกรรมเป็นของ ๆ ตน,
 
กัมมะทายาโท,
เป็นผู้รับผลของกรรม,
 
กัมมะโยนี,
เป็นผู้มีกรรมเป็นกำเนิด,
 
กัมมะพันธุ,
เป็นผู้มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์,
 
กัมมะปะฏิสะระโณ,
เป็นผู้มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย,
 
ยัง กัมมัง กะริสสามิ,
จักทำกรรมอันใดไว้,
 
กัลยาณัง วา ปาปะกังวา,
ดีหรือชั่ว,
 
ตัสสะ ทายาโท ภะวิสสานิ,
จักเป็นผู้รับผลของกรรมนั้น,
 
เอวัง อัมเหหิ อะภิณหัง,
เราทั้งหลายพึงพิจารณาเนือง ๆ
 
ปัจจะเวกขิตัพพัง.
อย่างนี้แล
 
== ความหมายของโอวาทปาฎิโมกข์ ==