ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระองค์เม็ญ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
แก้บางส่วน
บรรทัด 15:
}}
 
'''พระองค์เม็ญ''' (หรือ '''มี'''),<ref>''ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา'', หน้า 242</ref> '''พระองค์เจ้ามี'''<ref name="พงศาวดาร212">''ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา'', หน้า 212</ref><ref>ศานติ ภักดีคำ ผศ. ดร. ''เขมรสมัยหลังพระนคร''. กรุงเทพฯ : มติชน. 2556, หน้า 114</ref> หรือ '''นักองค์เม็ญ'''<ref>''ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา'', หน้า 239</ref><ref name= "เม็ญ">ศานติ ภักดีคำ ผศ. ดร. ''เขมรสมัยหลังพระนคร''. กรุงเทพฯ : มติชน. 2556, หน้า 98</ref> ({{lang-km|អង្គមី}}; พ.ศ. 2358 — ธันวาคม พ.ศ. 2417) เป็นพระมหากษัตริย์แห่ง[[อาณาจักรเขมรอุดง]]<ref>[http://www.ilovekhmer.org/blog/2009/07/list-of-khmer-king/ បញ្ជី​ព្រះនាម​ព្រះមហាក្សត្រ​ខ្មែរ​ពី​សតវត្ស​ទី​១ ដល់​បច្ចុប្បន្ន]</ref> เป็นพระราชธิดาใน[[สมเด็จพระอุไทยราชาธิราชรามาธิบดี]] หรือนักองค์จัน ทั้งนี้พระองค์เม็ญเป็นหนึ่งใน[[รายพระนามพระมหากษัตริย์และรายนามประมุขแห่งกัมพูชา|ผู้ปกครอง]]ที่เป็นสตรีไม่กี่คนใน[[ประวัติศาสตร์กัมพูชา]]<ref>[http://www.guide2womenleaders.com/Cambodia_Heads.htm Female Heads of State of Cambodia]</ref> พระองค์เม็ญทรงเป็นที่รู้จักในนาม '''บา กง จั๊ว''' (พระนางเจ้าหญิง) หรือพงศาวดารกัมพูชาออกพระนามว่า '''บากุ๋นภู'''<ref name="พงศาวดาร233"/> มีพระนามเป็น[[ภาษาเวียดนาม]]ว่า '''เจ้าหญิงหง็อก เวิน''' ({{lang|vi|Công chúa Ngọc Vân}}, {{lang|vi|玉雲}}) และภายหลังมีบรรดาศักดิ์ตำแหน่งเป็น '''ดัชเชสเจ้าหญิงหมี เลิม''' ({{lang|vi|Quận chúa Mỹ Lâm}}, {{lang|vi|美林}})
 
หลังสมเด็จพระอุไทยราชาธิราชรามาธิบดีเสวยทิวงคตในช่วงสงคราม[[อานามสยามยุทธ]] [[จักรพรรดิมิญ หมั่ง|พระเจ้ากรุงญวน]]จึงขุนนางจัดพระราชพิธีอภิเษกให้พระองค์เม็ญเสวยราชย์แทนพระราชบิดาขณะพระชนมายุ 20 พรรษา<ref name="พงศาวดาร233">''ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา'', หน้า 233</ref> เพราะในช่วงเวลานั้นเจ้านายเขมรที่เป็นชายเข้าไปพึ่งพระบรมโพธิสมภารพระเจ้ากรุงสยาม คงเหลือแต่เจ้านายเขมรผู้หญิง ฝ่ายญวนจึงกวาดเจ้านายเขมรไปเมืองญวน หวังให้เป็นประเทศราช<ref name="พงศาวดาร239">''ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา'', หน้า 251</ref> พระองค์เม็ญถูกแต่งตั้งเป็นพระเจ้ากรุงกัมพูชาและปลดออกสองครั้ง พระองค์และพระภคินีถูกนำไปไว้ที่เมือง[[ไซ่ง่อน]] เพื่อให้กัมพูชาสิ้นเจ้านายปกครอง<ref name="พงศาวดาร192">''พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 3'', หน้า 192</ref><ref>''ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา'', หน้า 239</ref> ต่อมาก็ส่งพระองค์กลับ[[พนมเปญ]]หวังให้ชาวเขมรคลายความเจ็บแค้น แต่พระเจ้ากรุงญวนทรงเห็นว่าไม่มีขุนนางเขมรนิยมชมชอบพระองค์เม็ญ จึงส่งพระองค์เม็ญไปเมืองเมียดจรูก<ref>''ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา'', หน้า 242</ref>
บรรทัด 26:
ฝ่ายพระเจ้ากรุงญวนที่คิดจะเอาดินแดนเขมรมาไว้ในปกครอง และขุนนางเขมร หมายจะให้นักองค์แบน พระราชธิดาในสมเด็จพระอุไทยราชาธิราชรามาธิบดี ขึ้นเสวยราชย์สืบบิดา แต่เพราะเจ้าหญิงพระองค์นี้นิยมสยาม และปฏิเสธที่จะเสกสมรสกับพระราชโอรสของพระเจ้ากรุงญวนเสียด้วย จึงมิได้ถูกเลือก<ref>Fieldnote, 2006</ref> ในขณะที่นักองค์เม็ญได้รับการโน้มน้าวจากขุนนางญวนให้เสกสมรสกับพระราชโอรสของ[[จักรพรรดิซา ล็อง|พระเจ้ายาลอง]] แต่แผนการนี้ถูกขุนนางเขมรคัดค้านอย่างหนัก โดยให้เหตุผลว่ามีวัฒนธรรมต่างกัน และไม่เหมาะควรที่จะให้เจ้านายผู้หญิงปกครองประเทศยาวนาน<ref name="พงศาวดาร166"/><ref>Gender in election, p. 7</ref>
 
== พระมหาราชินีหุ่นเชิดของเวียดนาม ==
พฤษภาคม พ.ศ. 2378 [[ราชวงศ์เหงียน|ราชสำนักเว้]]สถาปนานักองค์เม็ญเป็น "เจ้าหญิงเมืองขึ้น" ({{lang|vi|Quận chúa}}, {{lang|vi|郡主}}) และมีฐานันดรศักดิ์ต่ำกว่าเจ้าหญิงญวน ({{lang|vi|Công chúa}}, {{lang|vi|公主}}) ส่วนพระภคินีพระองค์อื่น คือ นักองค์แบน หรือหง็อก เบี่ยน ({{lang|vi|Ngọc Biện}}) นักองค์เภา หรือหง็อก ทู ({{lang|vi|Ngọc Thu}}) และนักองค์องสงวน หรือหง็อก เงวียน ({{lang|vi|Ngọc Nguyên}}) มีบรรดาศักดิ์เป็น "ท่านหญิงหัวเมืองน้อย" ({{lang|vi|Huyen quan}}, {{lang|vi|縣君}})<ref>A Comparation analysis of traditional and contemporary of female house hold p 48 by Andrey Riffaund</ref> ฝ่ายญวนทำการอารักขาพระองค์เม็ญอย่างใกล้ชิด มีทหารรักษาพระองค์สองกองร้อย รวม 100 นาย ส่วนพระภคินีอีกสามพระองค์ มีทหารอารักขาพระองค์ละ 30 นาย ทั้งนี้ก็เพื่อป้องกันมิให้เจ้านายเขมรไม่คิดหลบหนีไปพึ่งสยาม<ref>''Lost goddesses: the denial of female power in Cambodian history'' by Trudy Jacobsen, p. 112</ref>
ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2378 นักองค์มี หรือ พระองค์หญิงมีได้รับการสถาปนาให้เป็น '''พระองค์เจ้าหญิง''' (quan-chua) ตามธรรมเนียมจากกรุงเว้และเป็นพระเจ้ากรุงกัมพูชา พระภคินีทั้งสามพระองค์ได้รับการแต่งตั้งเป็น ''huyen quan'' (พระประมุขรอง)<ref>A Comparation analysis of traditional and contemporary of female house hold p 48 by Andrey Riffaund</ref> ประชาชนชาวกัมพูชาไม่คุ้นเคยกับประเพณีที่ปกครองโดยสตรีและสิ้นหวังจากการ "ทำให้เป็นเวียดนาม" (Vietnamization) นโยบายนี้ถอนรากถอนโคนรากเหง้าทางวัฒนธรรมของกัมพูชา ซึ่งเป็นของไม่มีอารยะในทัศนะของเวียดนาม ตลอดจนชีวิตของคนทุกระดับตั้งแต่พระเจ้าแผ่นดินลงไปถึงประชาชน บรรดาศักดิ์ตั้งเป็นภาษาเวียดนาม ชาวกัมพูชาต้องแต่งกายแบบเวียดนาม ไว้ผมยาว เลิกเปิบข้าวด้วยมือ<ref>David P. Chandler, A History of Cambodia,pp. 124 - 127</ref> ในสังคมภายนอก สตรีทุกคนถูกสั่งให้สวมกางเกงแทนที่ผ้านุ่งแบบเขมรและให้ไว้ผมยาวตามแบบเวียดนาม<ref>Fieldnote, 2005,2006</ref> ตลาดขายเฉพาะอาหารเวียดนาม [[ระบำหลวงของกัมพูชา]]ได้ถูกปรับให้เข้ากับวัฒนธรรมเวียดนามและจีน เวียดนามเรียกว่า ""ภารกิจแห่งความศิวิไลซ์"
 
ในรัชสมัยของพระองค์เม็ญ มีพระราชบัญชาให้สตรีเขมรทุกคนสวมชุดญวนแทนการนุ่งผ้าสมปัก และไว้ผมยาวตามอย่างหญิงญวน<ref>Fieldnote, 2005, 2006</ref><ref>Violent against woman in Asian society 2003, p. 107</ref> ในตลาดมีการวางจำหน่าย[[อาหารเวียดนาม|อาหารญวน]] เลิกเปิบข้าวด้วยมือ<ref>David P. Chandler, A History of Cambodia,pp. 124 - 127</ref>นาฏกรรมเขมรเริ่มรับอิทธิพลจีนและญวน ข้าราชการเขมรต้องสวมชุดญวน และวัดพุทธของชาวเขมรถูกแปลงเป็นวัดแบบญวนเพื่อทำลายอัตลักษณ์เขมร<ref>Cambodian people by Sipar, p. 29</ref> สถานที่ต่าง ๆ ถูกเปลี่ยนเป็นภาษาญวน บริเวณโดยรอบกรุงพนมเปญถูกเรียกว่า [[เจิ๊นเต็ยทั้ญ]] หรือเขตบริหารฝั่งตะวันตก<ref>Phnom Penh: a cultural and literary history By Milton Osborne, p. 51</ref> ชาวเขมรภายใต้การปกครองของเจ้านายผู้หญิง สิ้นหวังกับนโยบายการแผลงให้เป็นเวียดนาม (Vietnamization) จึงเรียกร้องให้ฝ่ายสยามแต่งตั้ง[[สมเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดี|นักองค์ด้วง]] พระอนุชาของสมเด็จพระอุไทยราชาธิราชรามาธิบดี เสวยราชย์แทน<ref>{{cite web|url=http://www.chiangmai-chiangrai.com/ayutthaya19.html|title=Ayutthaya, Capital of a Kingdom, Part 19|website=www.Chiangmai-Chiangrai.com|access-date=6 August 2017|archive-url=https://web.archive.org/web/20170806062649/http://www.chiangmai-chiangrai.com/ayutthaya19.html|archive-date=6 August 2017|url-status=dead}}</ref>
วัดในลักษณะอัตลักษณ์แบบเขมรถูกกำจัดจนหมดสิ้น<ref>Cambodian people by Sipar, p.29</ref> แทนที่ด้วยชื่อแบบเวียดนาม พื้นที่รอบกรุง[[พนมเปญ]]ได้เปลี่ยนชื่อจาก อันนาม เป็น ตราน เตย์ (Tran Tay) แปลว่า "เขตอำนาจทางตะวันตก"<ref>Phnom Penh: a cultural and literary history By Milton Osborne, p.51</ref> <ref>Violent against woman in Asian society 2003, p.107</ref>
 
พงศาวดารกัมพูชาบันทึกเหตุการณ์ช่วงนี้ว่า "...มัน (เวียดนาม) คิดจะยึดเอาพระนครประเทศเขมรทั้งหมดให้อยู่ในกำมือของมัน"<ref>นายพันตรีหลวงเรืองเดช ธนะรัชต์ (แปล). ''ราชพงศาวดารกรุงกัมพูชา ฉบับหอสมุดแห่งชาติ'', พิมพ์ครั้งที่ 2. พระนคร:แพร่วิทยา, 2513, หน้า 251</ref>ชาวเขมรซึ่งสนับสนุนสยามพยายามขอความช่วยหรือจากสยามให้สถาปนาพระประมุขซึ่งเป็นบุรุษคือ [[สมเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดี|นักองค์ด้วง]]<ref>[http://www.chiangmai-chiangrai.com/ayutthaya19.html Ayutthaya, Capital of a Kingdom, Part 19 King Rama 3 (Phra Nangklao Chao Yuhua) The Period of 1824 - 1851]</ref> เวียดนามได้ส่งทหารควบคุมพระองค์หญิงทั้งสี่ กษัตรีองค์มีทรงมีทหารติดตามถึง 100 นายเพื่อคุ้มครองความปลอดภัยของพระนาง ส่วนพระองค์หญิงอีกสามพระองค์มีทหารติดตาม 30 นาย เกี่ยวกับความปลอดภัยของพระองค์อย่างเห็นได้ชัด ทหารต้องแน่นอนว่าจะไม่ปล่อยให้พวกพระนางทรงหลบหนีไปได้<ref>Lost goddesses: the denial of female power in Cambodian history By Trudy Jacobsen, p.112</ref>