ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คืนกระจกแตก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 31:
'''คืนกระจกแตก''' ({{lang-en|Night of Broken Glass}}) หรือ '''คริสทัลล์นัคท์''' ({{lang-de|Kristallnacht}}) หรือเรียก '''โพกรมพฤศจิกายน''' ({{lang-en|November Pogrom(s)}}; {{lang-de|Novemberpogrome}}) เป็น[[โพกรม]]ต่อยิวที่ดำเนินการโดย[[ชตวร์มอัพไทลุง]] (SA) กำลังกึ่งทหารและพลเรือนทั่ว[[นาซีเยอรมนี]]ระหว่างวันที่ 9–10 พฤศจิกายน 1938 ทางการเยอรมันไม่ได้เข้าแทรกแซงใด ๆ ชื่อ "คริสทัลล์นัคท์" (คืนคริสตัล) มาจากเศษกระจกแตกที่เกลื่อนพื้นถนนหลังหน้าต่างของห้างร้าน อาคารและ[[ธรรมศาลา]]ยิวถูกทุบทำลาย บริบทของเหตุดังกล่าวมาจากการลอบสังหารนักการทูตชาวเยอรมัน แอร์นสท์ ฟอม ราท โดย [[แฮร์มัน กรืนชปาน]] ยิวเชื้อสายเยอรมันและโปแลนด์ที่อาศัยอยู่ในกรุงปารีส
 
บ้าน โรงพยาบาลและโรงเรียนยิวถูกปล้นสะดมเมื่อผู้ก่อเหตุทุบทำลายอาคารด้วยค้อน มีธรรมศาลาถูกทำลาย 267 แห่งทั่วประเทศเยอรมนี ออสเตรียและ[[ซูเดเทินลันท์]] ธุรกิจยิวกว่า 7,000 แห่งได้รับความเสียหายหรือถูกทำลาย และชายยิว 30,000 คนถูกจับกุมและกักกันใน[[ค่ายกักกันนาซี|ค่ายกักกัน]]
จำนวนผู้เสียชีวิตที่เกิดจากการสังหารหมู่มีตัวเลขแตกต่างกัน รายงานในช่วงแรกคาดว่าชาวยิว 91 คนถูกฆ่าตายระหว่างการโจมตี การวิเคราะห์สมัยใหม่แหล่งวิชาการเยอรมันโดยนักประวัติศาสตร์ เช่น [[ริชาร์ด เจอีแวนส์]] ทำให้จำนวนเพิ่มสูงขึ้นมาก เมื่อเสียชีวิตจากการกระทำผิดหลังการจับกุมและการฆ่าตัวตายที่ตามมาจะถูกรวมยอดผู้เสียชีวิตปีนขึ้นไปเป็นจำนวนร้อย นอกจากนั้นชาวยิวกว่า 30,000 คนถูกจับกุมและคุมขังในค่ายกักกันนาซี
 
ประมาณการผู้เสียชีวิตและได้รับบาดเจ็บนั้นมีหลากหลาย รายงานเบื้องต้นประมาณว่ามียิว 91 คนถูกฆ่า ส่วนการวิเคราะห์แหล่งข้อมูลวิชาการของเยอรมันสมัยใหม่ระบุตัวเลขไว้สูงกว่ามาก เมื่อคิดรวมการถูกทารุณหลังถูกจับกุม และการฆ่าตัวตายหลังจากนั้น ริชาร์ด อีแวนส์ประมาณว่ามีผู้ฆ่าตัวตาย 638 คน นักประวัติศาสตร์มองว่าคืนกระจกแตกเป็นมูลเหตุของ[[การแก้ปัญหายิวครั้งสุดท้าย]] และ[[ฮอโลคอสต์]]ในเวลาต่อมา
บ้านของชาวยิว, โรงพยาบาล และโรงเรียนถูกรื้อค้นและถูกโจมตีด้วยค้อน [[ธรรมศาลา]]กว่า 1,000 แห่งถูกวางเพลิง (มีเพียง 95 แห่งใน[[เวียนนา|กรุงเวียนนา]] [[ประเทศออสเตรีย]]เท่านั้น) และธุรกิจร้านค้าของเหล่าชาวยิวกว่า 7,000 แห่งถูกทำลายหรือได้รับความเสียหาย มีการรายงานข่าวอย่างกว้างขวางจากผู้สื่อข่าวต่างชาติที่ทำงานในเยอรมนี ข่าวเหล่านี้สร้างความตกตะลึงไปทั่วยุโรปและอเมริกา หนังสือพิมพ์เดอะไทม์ของลอนดอนฉบับวันที่ 11 พฤศจิกายน 1938 ได้ตีพิมพ์ว่า: ''"ไม่มีนักโฆษณาชวนเชื่อต่างชาติเคยว่าร้ายเยอรมนีมาก่อน จนกระทั่งโลกได้รับรู้เรื่องราวการวางเพลิงและทำลาย รวมถึงเรื่องราวการทำร้ายอย่างอันธพาลต่อประชาชนบริสุทธิ์ที่ไร้อาวุธ เหตุวานนี้ถือเป็นความอัปยศในประเทศนั้น"''<ref name=Gilbert41>"A Black Day for Germany", ''The Times'', 11 November 1938, cited in {{harvnb|Gilbert|2006|p=41}}.</ref>
 
ฝ่ายนาซีอ้างว่าปฏิบัติการครั้งนี้ก็เพื่อตอบโต้การสังหาร[[แอนสท์ ฟอม รัท]] เจ้าหน้าที่การทูตของนาซี ซึ่งถูกสังหารโดยนาย[[แฮร์มัน กรึนชปัน]] ที่กรุงปารีสเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1938 คืนกระจกแตกตามมาด้วยการคว่ำบาตรธุรกิจยิวและการกวาดล้างชาวชิว ซึ่งนักประวัติศาสตร์มองว่าเหตุการณ์เหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งของนโยบายทางเชื้อชาติของนาซีและเป็นจุดเริ่มต้นของ[[การแก้ปัญหาชาวยิวครั้งสุดท้าย]]และ[[ฮอโลคอสต์|การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์โดยนาซี]]
 
== อ้างอิง ==